Page 12 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 12
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 7
นักศึกษายังไมไดพบผูรับบริการ โดยนักศึกษาควรมีการเตรียมเปาหมายในการสรางสัมพันธภาพ
เพื่อการบําบัดใหชัดเจน ศึกษาขอมูลเบื้องตนของผูรับบริการ ปญหาที่เคยเกิดขึ้น และภูมิหลัง
ของผูรับบริการ เชน ชื่อ นามสกุล อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และครอบครัว นอกจากนี้
นักศึกษาควรเตรียมความพรอมของตนเองทั้งดานรางกายและจิตใจใหมีความพรอม
ปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดในระยะปฏิสัมพันธ คือ ความรูสึกกลัวและวิตกกังวลตอการสราง
สัมพันธภาพกับผูรับบริการ สวนใหญนักศึกษาจะกลัวถูกผูรับบริการทําราย กลัวถูกปฏิเสธการ
สนทนา วิตกกังวลไมรูจะสรางสัมพันธภาพอยางไร กลัวพูดกับผูรับบริการไมรูเรื่อง วิตกกังวล
เกี่ยวกับการใชเทคนิคในการสนทนา และกลัวไปทํารายจิตใจผูรับบริการ ปญหาเหลานี้อาจ
เนื่องจากนักศึกษามีประสบการณหรือความคิดในอดีตเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูรับบริการจิตเวช
แนวทางแกไข นักศึกษาตองสํารวจตนเองวากลัวอะไร ความกลัวหรือวิตกกังวลนี้มาจาก
ไหน มีอะไรที่เกี่ยวของ ขอคําชี้แนะจากอาจารยนิเทศหรืออาจารยพี่เลี้ยง โดยอภิปรายถึง
ทัศนคติที่มีตอผูรับบริการและการสรางสัมพันธภาพกับผูรับบริการ การพูดคุยหรือปรึกษาพี่ หรือ
เพื่อนนักศึกษา ที่มีประสบการณมากอน การพัฒนาตนเองเตรียมตัวดานความรูและเทคนิค
สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ก็จะชวยใหเกิดความมั่นใจในการเขาหาผูรับบริการวิธีตาง ๆ ดังกลาว
เหลานี้ จะชวยลดความกลัวและวิตกกังวลของนักศึกษา
2. ขั้นการสรางปฏิสัมพันธ (Orientation Phase)
ขั้นตอนการสรางปฏิสัมพันธมีระยะเวลาไมนาน หรือสามารถขยายระยะเวลายาวนานขึ้น
ได ในชวงแรกอาจยืดเยื้อในผูรับบริการที่มีอาการรุนแรง และผูรับบริการที่มีการเจ็บปวยทางดาน
สุขภาพจิตเปนระยะเวลานาน ในครั้งแรกที่นักศึกษาพยาบาลและผูรับบริการพบกัน ทั้งสองฝายมี
ความรูสึกเปนคนแปลกหนาตอกัน นักศึกษาและผูรับบริการยังไมรูจักกัน จึงมีปฏิสัมพันธตอกัน
ตามพื้นฐานคานิยมและประสบการณของตนเอง นักศึกษาจําเปนจะตองมีการตระหนักรูในตนเอง
การพัฒนาความสัมพันธแบบตอเนื่องเปนการคนหาปฏิกิริยา อารมณทางดานบวกและลบของ
ผูรับบริการ การที่ผูรับบริการมีความรูสึกเกี่ยวกับนักศึกษาเรียกวาการถายโอนความรูสึก
(Transference) การแสดงของความรูสึกจากนักศึกษาพยาบาลหรือแพทยไปยังผูรับบริการ เรียกวา
ถายโยงความรูสึก (Counter Transference) นักศึกษาจะตองรักษาขอบเขตของสัมพันธภาพให
เหมาะสม ในระยะที่ 2 การสรางความไววางใจ (Establishing Trust) เปนสิ่งสําคัญในระหวางการ
เผชิญหนาในครั้งแรกกับผูรับบริการ ดวยการสรางบรรยากาศใหเกิดความไววางใจ ซึ่งสามารถ
พัฒนาได แสดงใหเห็นถึงความจริงใจและเอาใจใส การรับรูและเขาใจ การใหความนับถือ ความ
สม่ําเสมอและการใหความชวยเหลือผูรับบริการที่มีปญหาทางดานอารมณ อาจจะใชเวลาเพียง
ชวงเวลาสั้นๆ บางครั้งอาจใชเวลานาน กอนที่ผูรับบริการรูสึกอิสระที่จะพูดคุยเกี่ยวกับ
ประสบการณสวนตัวที่เจ็บปวด และความคิดเห็นสวนตัว สรางความคุนเคย ความไววางใจและ
ความรูสึกปลอดภัย โดยการแสดงการยอมรับผูรับบริการ การจัดสภาพการสนทนาเพื่อการบําบัด
ดําเนินการสื่อสารเพื่อใหเกิดความเขาใจ กําหนดขอตกลงในการสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด