Page 14 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   9

                ตามกรอบการมองในประเด็นบทบาทตามเพศภาวะ ซึ่งเปนพฤติกรรมที่ไดรับการประกอบสราง
                ทางสังคมวา บทบาทหนาที่หรือกิจกรรมที่สังคมกําหนดใหแก เพศหญิง เพศชาย ตองกระทําคือ

                อะไร (ดารุณี จงอุดมการณ, สุมาลี คมขํา, ธิรากร มณีรัตนและจุฑามาศ แกวละมุน, 2554)
                        5.  กรณีศึกษา (Case Study) เปนการวิจัยเชิงคุณภาพที่เนนการตอบคําถามวา ทําไม
                (Why) เพื่อใหไดเหตุผล และอยางไร (How) เพื่อใหทราบถึงกระบวนการ ซึ่งเปนคําตอบที่การ
                วิจัยเชิงปริมาณไมสามารถตอบได และเปนการวิจัยที่ใหความสําคัญกับการคนหาความจริง
                ภายใตบริบทหนึ่ง (Context) มีขอบเขตเฉพาะเจาะจง บุคคล กลุมบุคคล โครงการ เหตุการณ

                สถานที่ ชุมชน องคกรหรือเวลา ซึ่งเปนสภาพแวดลอมที่เปนจริงตามธรรมชาติและปราศจากการ
                ควบคุมใด ๆ (วรวุฒิ โรมรัตนพันธุ, 2559) และเปนกระบวนการสืบคนหา ความรู ความจริง หรือ
                ตรวจสอบ ปรากฏการณภายในบริบทที่แวดลอมปรากฏการณนั้น เปนการพรรณนาและ

                วิเคราะหปรากฏการณอยางละเอียด ลุมลึก และเปนองครวม (สมพงษ พันธุรัตน, 2559) การ
                วิจัยแบบกรณีศึกษา นิยมใชเปนทางเลือกในการตอบคําถามที่งานวิจัยชนิดอื่น ๆ ไมสามารถ
                นํามาใชศึกษาและตอบคําถามได เชน การศึกษาประสบการณ “Moral distress” ของพยาบาล
                จิตเวชในการดูแลผูปวย (วัลยา ธรรมพนิชวัฒน, 2559)

                        วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ (บุญใจ ศรีสถิตนรากูร, 2547)
                        1.  การสัมภาษณ (Interviews)
                           1.1 การสัมภาษณมีโครงสราง (Structured Interview) โดยผูสัมภาษณจะ
                สัมภาษณตามรายการคําถามที่ไดจัดเตรียมไวแลว อาจเปนคําถามปลายปดหรือปลายเปดก็ได

                           1.2 การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Non-Structured Interview) โดยผู
                สัมภาษณจะสัมภาษณเปนคําถามปลายเปด เพื่อใหผูถูกสัมภาษณไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น
                อยางอิสระ อาจใชวิธีการสนทนากลุม (Focus Group Interviews) หรือการสัมภาษณเชิงลึก
                (In-Dept Interview)

                        2.  การใชแบบสอบถาม  (Questionnaire)  อาจเปนแบบสอบถามปลายปด  หรือ
                ปลายเปดก็ได
                        3.  การสังเกต (Observation) ไดแก
                           3.1 การสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant Observation) หมายถึง การใช

                ประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางพรอมกัน ในการรวบรวมขอมูล โดยผูวิจัยตอง
                เขาไปอยูและปฏิบัติตนใหเปนสวนหนึ่งของชุมชนที่ตองการศึกษา
                           3.2 การสังเกตแบบไมมีสวนรวม (Non-Participant Observation) หมายถึง การ
                สังเกตโดยที่ผูวิจัยไมไดเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ กับกลุมตัวอยาง แตสังเกตอยูหาง ๆ

                โดยที่กลุมตัวอยางอาจจะรูตัวหรือไมรูตัวก็ได
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19