Page 12 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   7

                        การวิจัยเชิงคุณภาพดานการศึกษาพยาบาลศาสตร
                        การวิจัยดานการศึกษาพยาบาล (Research in Nursing Education) เปนการวิจัย

                เกี่ยวกับระบบการศึกษา ซึ่งประกอบดวยหลักสูตร ผูเรียน ผูสอน การเรียนการสอน โดยมี
                วัตถุประสงคที่สําคัญคือ เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนพยาบาลที่ดี มีความรูความสามารถตาม
                ตองการ ความสําคัญของการวิจัยดานการศึกษาพยาบาลศาสตรไดแก ความสําคัญตอการพัฒนา
                ศาสตรทางการพยาบาล โดยการสรางความรูใหมและการทําใหความรูที่มีอยูเดิม มีความลึกซึ้ง
                กวางขวางมากขึ้น ความสําคัญตอการแกปญหาและพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลใหมีคุณภาพ

                และประสิทธิภาพ ซึ่งจะสงผลโดยตรงแกผูรับบริการใหไดรับบริการที่ดี มีคุณภาพ เกิด
                ภาวะแทรกซอนนอยที่สุด และพยาบาลไดรับประโยชนในการปฏิบัติการพยาบาลไดอยางมี
                ประสิทธิภาพ

                        การวิจัยเชิงคุณภาพ เปนวิธีการที่ใชในการทําความเขาใจปรากฏการณตาง ๆ จากหลาย
                มุมมองที่เกี่ยวของหรือการทําความเขาใจในบริบททางสังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดลอม การเมือง
                และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Glesne, 2006 อางถึงใน Devadas, 2016) เปนการวิจัยที่เก็บ
                รวบรวมขอมูลจากตัวแปรที่มีลักษณะเปนขอความที่บรรยายลักษณะ เหตุการณหรืออธิบาย

                ปรากฏการณที่เกิดขึ้นวาเปนอยางไรตามสภาพแวดลอม ทําใหมีการสรุปผลการวิจัยเชิงลึกที่
                คอนขางมีความซับซอน (สมชาย วรกิจเกษมสกุล, 2558: 15) ซึ่งในดานการศึกษาพยาบาล
                ศาสตรไดพยายามที่จะปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานทางการพยาบาลเพื่อใหสอดคลองกับ
                ความตองการทางสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพเปนเครื่องมือที่

                สําคัญอีกอยางหนึ่ง เพื่อชวยใหเกิดการพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งในบทความนี้จะได
                นําเสนอรูปแบบของการวิจัยเชิงคุณภาพ 5 รูปแบบดังนี้
                        1. ปรากฏการณวิทยา (Phenomenology) เปนการศึกษาพฤติกรรมของมนุษยที่เปน
                การศึกษาความรู แนวความคิด ความรูสึก อารมณ การตัดสินใจ ความเขาใจถึงความหมายและ

                ระบบคุณคา รวมถึงวัฒนธรรมของกลุมคน เปนการศึกษาปรากฏการณตามคําบอกเลาของผูที่
                ประสบกับเหตุการณนั้นโดยตรง ใหความสําคัญกับการศึกษาแบบองครวม มุงทําความเขาใจ
                บุคคลผานกระบวนการหยั่งรู (Intuition) การสะทอนคิดพิจารณาอยางมีสติ การพรรณนาและ
                ตีความขอมูลในสภาวการณที่เปนธรรมชาติ อธิบายประสบการณที่ศึกษาใหตรงกับสิ่งที่เกิดขึ้น

                มากที่สุดและตรงไปตรงมาตามคําบอกเลาของผูใหขอมูล (ศิวพร ละมายนิล, 2557, อัศวิน มณี
                อินทร,  2553,  สัญญา เคณาภูมิ, 2557) Polit and Beck (2006) ไดแบงการศึกษาเชิง
                ปรากฏการณออกเปน 4 ขั้นตอนไดแก การครอมดวยเครื่องหมายคําพูด (bracketing) เพื่อเปน
                การปองกันไมใหความคิดและความเชื่อสวนบุคคลของผูวิจัยปนเปอนหรือมีผลตอขอมูลวิจัย การ

                หยั่งรู (intuiting) การวิเคราะห(analyzing) และการพรรณา (describing) คือการทําความ
                เขาใจและใหความหมายของปรากฏการณ (Polit and Beck, 2006 cited in Devadas B,
                2016)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17