Page 10 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   5

                พัฒนากระบวนการคิด (วิภาดา คุณาวิกติกุล, 2558) ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดผลลัพธคือ การไดบัณฑิตที่
                มีสมรรถนะและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 อยางแทจริง

                        ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย การเรียนรู 3Rs และ 7Cs ซึ่ง 3Rs ไดแก
                Reading (การอาน) (W)Riting (การเขียน) และ (A)Rithematic (คณิตศาสตร) และ 7Cs ไดแก
                Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและการ
                แกปญหา)  Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม) Cross-
                cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจความแตกตางทางวัฒนธรรม)

                Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม
                และภาวะผูนํา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะดานการ
                สื่อสาร สารสนเทศและรูเทาทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร

                และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) และ Career and Learning Skills (ทักษะดานอาชีพ
                และทักษะการเรียนรู) (Trilling & Fadel, 2009 อางถึงใน กมลรัตน เทอรเนอร และคณะ,
                2558)
                        แนวทางการจัดทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ที่เนนสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพเพื่อ

                พัฒนาทักษะแหงอนาคตในศตวรรษที่ 21 ยึดกรอบของระบบสนับสนุนการเรียนรูในศตวรรษที่
                21 ดังนี้ (นงลักษณ เฉลิมสุข, 2016)
                                                                  st
                        1. ระบบมาตรฐานการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21  Century Standards) ไดแก การ
                ใชขอมูลความจริงจากกระบวนการสังเกต ตั้งประเด็นคําถามจากแหลงเรียนรูชุมชน เชื่อมโยง

                ไปสูสาระการเรียนรูรายวิชา การบูรณาการความรูและความซ้ําซอนของเนื้อหาสาระ การสราง
                ทักษะการสืบคนและรวบรวมความรู การสรางความรู ความเขาใจเชิงลึกมากกวาแบบผิวเผิน
                การสรางความเชี่ยวชาญตามความถนัดและสนใจใหเกิดกับผูเรียน และการใชหลักการวัด
                ประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง

                                                                                st
                        2. ระบบการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21  Century Skills)
                ไดแก การสรางความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ (ความรู ความถนัด สาขาอาชีพ
                ทัศนคติตอการทํางานและอาชีพ) การนําประโยชนของผลสะทอนจากการปฏิบัติของผูเรียนมา

                ปรับปรุงการแกไขงาน(เครื่องมือวัดผลตามสภาพจริง การปฏิบัติ ทัศนคติ และความรู) ใช
                เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด (คลังขอสอบ
                ระบุตัวชี้วัด มาตรฐานรายวิชา ระบุระดับขั้นพฤติกรรม) การสรางและพัฒนาระบบแฟมสะสม
                งาน (Portfolios) และเสนทางการศึกษาตอสูการประกอบอาชีพ (Career Path) ของผูเรียนให
                เปนมาตรฐานและมีคุณภาพ

                                                                        st
                        3. ระบบหลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21  Century Curriculum &
                Instruction) ไดแก การสอนใหเกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 โดยมุงเนนเชิงสหวิทยาการ
                (Interdisciplinary) ของวิชาแกนหลัก การสรางโอกาสที่จะประยุกตทักษะเชิงบูรณาการขาม
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15