Page 7 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             research data methods include of structured interviews, non-structured interviews,
             focus group interviews, in-dept interviews, questionnaire, participant observation,

             and non-participant observation. The most common of qualitative research data
             verification used is Triangulation verification. The recommendations for qualitative
             research in nursing education research issues include of creation and development
             of nursing and midwifery courses, and instruction research.
                                                                      st
             Keywords: Qualitative Research, Nursing Education, The 21  Century

             บทนํา
                     จากการปฏิรูปการศึกษาในระดับโลก พ.ศ. 2544 ซึ่งเปนปที่กาวสูศตวรรษที่ 21 ทําให

             หลายประเทศทั่วโลกไดกําหนดทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ใหเปนวาระแหงชาติในการปฏิรูป
             การศึกษา รวมทั้งประเทศไทยซึ่งไดกําหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
             พุทธศักราช 2551 ที่กําหนดจุดหมายของหลักสูตรขอที่ 2 ไววา เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
             ผูเรียนจะตองมีความรูอันเปนสากล และมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา

             การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต โดยมุงเพื่อพัฒนากําลังคนรองรับการพัฒนาคุณภาพคนไทย
             ใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต (The Ministry of
             Education, 2008 อางถึงใน พิชญา ดีมี และเอื้อมพร หลินเจริญ, 2560) ซึ่งทักษะแหงศตวรรษ
             ที่ 21 ที่เกิดขึ้นกับผูเรียนนี้ ถือเปนการเตรียมตัวผูเรียนใหประสบผลสําเร็จในโลกของการทํางาน

             ในศตวรรษที่ 21 ตอไป ดังนั้น การศึกษานับวาเปนเครื่องมือที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศ
             จากการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงและขยายตัวอยาง
             มากมายและหลาย ๆ ดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีตาง ๆ
             และลักษณะทางสังคมโลกที่มีความซับซอนมากขึ้น จึงผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง

             เศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู ดังนั้นนักการศึกษาและมหาวิทยาลัยตาง ๆ ก็ตองมีการพัฒนา
             เพื่อใหมีความสามารถที่จะรองรับกับการเปลี่ยนแปลงและการขยายตัวของสังคมโลก จึงไดมีการ
             ออกแบบการศึกษาที่หลากหลาย เพื่อเตรียมคนเขาสูการทํางาน ไปจนถึงการขจัดความยากจน
             เพิ่มสุขภาวะของประชาชนหรือเสริมสรางเศรษฐกิจทองถิ่น เครือขายความรวมมือระหวาง

             ประเทศไดผลักดันใหมหาวิทยาลัยแหงชาติจัดอันดับงานวิจัย การสรางเอกลักษณดานการศึกษา
             นานาชาติ การขยายธรรมชาติของการศึกษาระดับสูงสุด โดยใหรวมการพัฒนาทักษะสวนบุคคล
             การคิดแนวทางใหม การเตรียมฝกงาน และการจัดการศึกษาที่เนนความรูและทักษะเฉพาะวิชา
             (Oxford University, 2015)

                     การศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต เปนกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
             สรางบัณฑิตพยาบาลศาสตรใหเปนพยาบาลวิชาชีพ เพื่อออกไปปฏิบัติภารกิจการบริการสุขภาพ
             อนามัย รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและผูรับบริการ ประเทศไทยเริ่มจัด
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12