Page 8 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   3

                การศึกษาพยาบาลและผดุงครรภเมื่อ พ.ศ. 2439 และวิวัฒนาการมาเปนวิชาชีพตาม
                มาตรฐานสากล เขาสูระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาเมื่อป พ.ศ. 2499 มีพระราชบัญญัติวิชาชีพ

                การพยาบาลและการผดุงครรภเมื่อ พ.ศ. 2528 เพื่อควบคุมและพัฒนาการประกอบวิชาชีพใหได
                มาตรฐานและคุณภาพ เหมาะสมกับความตองการของสังคมและความปลอดภัยของผูรับบริการ
                (สภาการพยาบาล, 2555) ซึ่งสภาการพยาบาลแหงประเทศไทย ไดสงเสริมและผลักดันใหเกิด
                การพัฒนาดานการศึกษาพยาบาลและการผดุงครรภมาโดยตลอดจนถึงปจจุบัน การพัฒนาความ
                เขมแข็งใหกับวิชาชีพพยาบาลที่สําคัญอีกดานหนึ่งคือ การสรางองคความรูที่ใชขอมูลเชิงประจักษ

                เปนฐานขอมูล (Evidence based) นําไปสูปฏิบัติการพยาบาลและระบบบริการสุขภาพที่มี
                คุณภาพ ประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนผูใชบริการ ซึ่งเครื่องมือที่
                สําคัญของการสรางองคความรูคือ การวิจัย

                        องคการอนามัยโลกไดกําหนดกลยุทธและทิศทางใหมสําหรับพยาบาลและผดุงครรภใน
                การใหบริการ ป 2010-2015 (WHO, 2010 อางถึงใน สภาการพยาบาล, 2555) คือ ตองการให
                พัฒนาการศึกษาพยาบาลและการผดุงครรภ โดยเฉพาะความรูการวิจัย เปนการสรางนักวิจัย
                ทางการพยาบาลและการผดุงครรภระดับเชี่ยวชาญ เพื่อสามารถใชความรูของนักวิจัยทางการ

                พยาบาลและการผดุงครรภไปขยายผลตอใหเปนนวัตกรรมของระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
                และประสิทธิภาพไปบริการประชาชน (สภาการพยาบาล, 2555) การวิจัยทางการพยาบาลเปน
                เครื่องมือสําคัญของการสรางองคความรูโดยใชขอมูลเชิงประจักษเปนฐาน (Evidence based)
                เพื่อตอบสนองตอการพัฒนาระบบบริการสุขภาพและการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล ใหสามารถ

                บริการประชาชนไดตามมาตรฐานและไดคุณภาพ อีกทั้งยังเปนการพัฒนาความเขมแข็งใหกับ
                ระบบบริการสุขภาพและวิชาชีพ ซึ่งจะนําไปสูการมีเอกลักษณ เอกสิทธิ์ ทางวิชาชีพการพยาบาล
                ในการทํางานดานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ดังนั้นจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่
                ตองทําใหเกิดการพัฒนาการวิจัยอยางเปนรูปธรรม ที่ผานมามีการนําความรูจากการปฏิบัติการ

                ทางการพยาบาลมาใชนอยมาก สวนใหญมาจากตําราทางการพยาบาล ซึ่งเปนตําราทางทฤษฏี
                และคูมือการปฏิบัติทางการพยาบาล ยังมีการนําไปสูการปฏิบัตินอย สาเหตุสําคัญสวนหนึ่งเกิด
                จากการที่องคกรพยาบาล องคกรวิชาชีพ และสถาบัน การศึกษาพยาบาล ยังทําวิจัยหรือ
                สังเคราะหความรูจากการปฏิบัติคอนขางนอย (สภาการพยาบาล,  2555) และเนื่องจากการ

                พยาบาลและการศึกษาดานการพยาบาลนั้น ลวนเกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษย การวิจัยเชิง
                คุณภาพจึงเปนทางเลือกที่ควรพิจารณาสําหรับการพัฒนาดานการศึกษาพยาบาลศาสตร เพราะ
                สามารถชวยใหนักวิจัยไดมองเห็นพฤติกรรมของมนุษยในสภาพที่เปนธรรมชาติ โดยไมมีสิ่งปรุง
                แตง และยังชวยใหเขาใจปรากฏการณตาง ๆ ไดอยางลึกซึ้ง ทําใหไดขอมูลที่เปนรากฐานสําคัญที่

                สามารถนํามาพัฒนางานดานการพยาบาลและการศึกษาพยาบาลศาสตรไดอยางเหมาะสมกับ
                สภาพปญหาที่แทจริง บทความนี้ผูเขียนมีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอแนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13