Page 48 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 48

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   43

                         2. The performance of the Lab school as a whole and in each particular
                aspect were rated at a high level.

                         3. The leadership of school and the area of school factor, type of
                school  factor, size  of  school factor  were  positively correlated  with the
                administrators affecting the performance of Lab school at significant level of .01
                         4. The leadership of school and the area of school factor, type of
                school factor, size of school factor affected to the performance of Lab school

                at significant level of .05
                         5. The factor of the cognitive stimulation leadership (X 43), the passives
                management (X53), size of school (X3), and idealize influence (X41) can predict

                                                ∧
                the performance of Lab school (  Y ) accounted for 60.20 % (R2=.602) of variance.
                The predicted equation in raw scores was shown as follows
                          ∧
                                Y= 1.503 +.118(X43) +.055(X53) +.108(X3) +.217(X41)
                Or can be written the forecast equation in the standard form as follows
                          ∧
                            Z = .146(Z43) + 0.71(Z 53) +.134(Z3) +.276(Z 41)
                Keywords: Leadership, The performance of Lab school

                บทนํา

                        ภาวะผูนําของผูบริหารโรงเรียน เปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาโรงเรียน ผูบริหาร
                โรงเรียนเปนบุคลากรที่สําคัญที่สุด ที่จะเอื้อใหครูมีประสิทธิภาพ ผูบริหารมีอิทธิพลตอการ
                สรางโอกาส และกระตุนใหครูและนักเรียนไดเรียนรูรวมกันผูบริหารที่มีลักษณะเปนผูนํา มี

                ความรูและความตั้งใจ เสริมสรางสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ประสานความรวมมือทําให
                บรรยากาศในโรงเรียนสงผลดีตอการปฏิบัติงานของครูที่สงผลตอการเรียนรูของนักเรียนใน
                ที่สุด ภาวะผูนําเปนปจจัยอิทธิพลที่เชื่อมโยงตอผลสําเร็จ (ถวิล มาตรเลี่ยม, 2544) ผูบริหารจึง
                เปนบุคคลที่มีความสําคัญที่จะชี้วัดความสําเร็จและความลมเหลวขององคกร เพราะการ
                บริหารการศึกษาจะมีลักษณะแตกตางไปจากเดิม โดยสถานศึกษาจะมีอํานาจในการบริหาร

                และจัดการศึกษาดวยตนเองมากขึ้น ทําใหผูบริหารการศึกษาและผูบริหารสถานศึกษาตอง
                ปรับเปลี่ยนบทบาทหนาที่เพื่อบริหารจัดการการศึกษาในรูปแบบใหมจึงจําเปนตองอาศัยภาวะ
                ผูนําเขามาบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

                (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2550) ผูบริหารจึงตองสรางภาวะผูนําที่เข็ม
                แข็งในการบริหารงานเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผูบริหารที่มีความเปนผูนําหรือ
                ใชภาวะผูนําไดอยางเหมาะสม และเปนไปตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารที่ดีจะสงผลตอ
                ความสําเร็จในการดําเนินงานภายในสถานศึกษาไดอยางชัดเจน เพราะมีความสามารถในการ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53