Page 6 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 6

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   1

                           การศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย

                                      ของประเทศไทยและประเทศญี่ปุน
                         THE COMPARATIVE STUDY OF THAI AND JAPANESE

                                           HIGHER EDUCATION

                                                                                            3
                                                         1
                                                                        2
                                               วิจิตรา สีสด0 *, สุรัสวดี ควรหา  และสุกัญญา แชมชอย
                          Wichittra Seesod , Suratsawadee Khuanha  and Sukanya Chaemchoy
                                          1
                                                                                            3
                                                                  2

                บทคัดยอ
                        การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบการศึกษาระดับ
                มหาวิทยาลัยของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุนตามบริบทตาง ๆ ของระบบการศึกษา เปน
                การศึกษาในลักษณะบรรยาย ประเภทการวิเคราะหเอกสารและศึกษาดูงานเชิงวิชาการ ณ
                ประเทศญี่ปุน ซึ่งผูเขียนไดศึกษาวิเคราะหองคประกอบของการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของ

                ประเทศไทยและประเทศญี่ปุน ทั้งหมด 7 ดาน ผลการศึกษา พบวา 1) ระบบการศึกษาระดับ
                มหาวิทยาลัย ระยะเวลาในการเรียนตอระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยและประเทศญี่ปุน
                นั้นเทากัน คือ ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับปริญญาโท 2 ป และระดับปริญญาเอก 3 ป แต
                ประเทศญี่ปุน ผูที่มีความสามารถมีประสบการณเพียงพอในการทําวิทยานิพนธ จะสามารถสง
                ประเมินผานแควิทยานิพนธไดโดยไมตองเขาระบบ การเรียนการสอนในระบบมหาวิทยาลัย

                เนนการเรียนเชิงปฏิบัติการ และมีมหาวิทยาลัยเฉพาะทางที่สามารถรองรับอาชีพ ความ
                ตองการของตลาดแรงงาน ไดมากกวาประเทศไทย 2) นโยบายและปรัชญาการศึกษาระดับ
                มหาวิทยาลัย ทั้งประเทศไทยและประเทศญี่ปุน มีปรัชญาทางการศึกษาและนโยบายทางการ

                ศึกษาที่คลายกัน คือ การมุงเนนพัฒนาคนดวยความรู เพื่อสรางสรรคนวัตกรรมในการพัฒนา
                ความเจริญของประเทศ 3) การสนับสนุนจากภาครัฐ มหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนทั้งเอกชน
                และรัฐบาลจะไดรับการสนับสนุนดานการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงภาคเอกชน
                สําหรับประเทศไทยหลายมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ และภาคเอกชนมีอิสระในการบริหาร

                จัดการ บางมหาวิทยาลัยเนนจํานวนผูเรียนมากกวาคุณภาพ 4) ดานการสงเสริมการทําวิจัย
                ในประเทศญี่ปุนมีหนวยงานระดับชาติในการจัดการเกี่ยวกับวิจัยทางการศึกษาโดยตรง ซึ่งใน
                ประเทศไทยยังไมมี จึงทําใหญี่ปุนมีปริมาณงานวิจัยที่สูงกวาไทย แตในขณะเดียวกันทั้ง
                ประเทศไทยและประเทศญี่ปุนก็ขาดการประเมินงานวิจัยที่เหมาะสม รวมทั้งการเผยแพร

                ผลงานวิจัยและนําผลงานวิจัยไปใช ยังทําไมไดมากเทาที่ควร 5) การปฏิบัติงานของอาจารย
                มหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนคาตอบแทนของอาจารยมหาวิทยาลัยคอนขางสูงกวาในประเทศ

                1  คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (Faculty of Education, Chulalongkorn University)
                *Corresponding Author, e-mail: Wichittra.meiji@gmail.com
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11