Page 12 - JRISS-vol.2-no2
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018   7

                        Kohirieser (2007) เสนอทักษะในการจัดการความขัดแยงที่นาจะเปนประโยชนตอ
                ผูบริหารและผูสนใจไวดังนี้

                        1. การสรางและรักษาความสัมพันธอันดีรวมทั้งคูกรณีดวย (Create and maintain
                a bond, even with your adversary) ทั้งนี้เพราะความสัมพันธที่ดีเปนหัวใจของการ
                แกปญหาความขัดแยง อยางไรก็ตามผูอานตองไมสับสนระหวางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
                และกัน กับความชมชอบบุคคลที่เปนคูกรณี เพราะสิ่งสําคัญของการแกปญหาความขัดแยงคือ
                การสมประโยชนตามวัตถุประสงคขององคการ ยิ่งไปกวานั้นเราตองเรียนรูในการแยกแยะ

                ระหวางตัวบุคคลที่เกี่ยวของ กับประเด็นปญหาที่ตองการแกปญหา
                        2. การจัดใหมีการเจรจาและการตอรอง (Establish a dialogue and negotiate)
                การเปดโอกาสใหมีการเจรจากันไดเสมอ มีเปาหมายชัดเจนในเรื่องที่จะเจรจากัน และมี

                ความหวังในความสําเร็จ มีจุดประสงครวมกันเปนเปาหมาย โดยหลีกเลี่ยงความกาวราวและ
                รุนแรง ซึ่งจะนําไปสูการเจรจาตอรองกันตอไป
                        3. นําประเด็นเขาสูโตะเจรจา (Put the fish on the table) หมายความ
                ตรงไปตรงมาวาควรนําประเด็นที่เปนปญหามาสูโตะเจรจา แทนการปกปด หรือหลีกเลี่ยง

                เสมือนกับการมีปลาก็ควรนํามาขึ้นโตะเพื่อรับประทาน ถาปลอยทิ้งไวใตโตะก็จะเนาเสีย ทําให
                เกิดความเสียหายได
                        4. ทําความเขาใจในสาเหตุของความขัดแยง (Understand what causes conflict)
                ทั้งนี้เพราะถาเราจะนําปญหาขึ้นโตะเจรจา เราตองเขาใจวาอะไรคือสาเหตุของปญหาความ

                ขัดแยงดังกลาว ซึ่งสาเหตุหลักมักจะเกิดจากความแตกตางในเปาประสงค ความสนใจ หรือ
                คานิยมของคูกรณี
                        5. ใชกฎการเอื้อแกคูกรณี (Use the law of reciprocity) โดยเชื่อวาถาเราใหอะไร
                กับผูอื่นเรามักจะไดสิ่งนั้นตอบแทน ดังนั้นถาคูกรณียึดหลักการนี้ในระหวางการเจรจา ยอมมี

                แนวโนมที่จะนําไปสูความสําเร็จในการเจรจา และการแกปญหาความขัดแยงที่เกิดขึ้นไดมาก
                ขึ้น
                        6. การสรางความสัมพันธเชิงบวก (Build a positive relationship) หลังจาก
                ความสัมพันธระหวางคูกรณีเริ่มดีขึ้น เปนความจําเปนที่ตองพยายามรักษาความสัมพันธใหดี

                ยิ่งขึ้นไปพรอม ๆ กับความพยายามในการหาจุดเชื่อมของจุดประสงครวมของประเด็นที่มี
                ความขัดแยงไปดวย

                ปจจัยที่สงผลตอการจัดการความขัดแยง

                        The Foundation Coalition (2016) นําเสนอไววาปจจัยที่สงผลตอแบบการจัดการ
                ความขัดแยงคือ เพศ อํานาจแหงตน ความคาดหวัง สถานการณ ตําแหนงหนาที่ การปฏิบัติ
                แนวการเลือกวิธีการจัดการ ทักษะในการสื่อสาร และประสบการณชีวิต
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17