Page 11 - JRISS-vol.2-no2
P. 11

6  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                     วิธีการถนอมน้ําใจ (Accommodating) เปนการจัดการความขัดแยงที่เปนไปตาม
             ความตองการของฝายบริหารต่ํา แตไดรับความรวมมือสูง แตวิธีการจัดการความขัดแยงแบบนี้

             จะเปนประโยชนมากเมื่อตองการแกปญหาความขัดแยงกันดวยเหตุผล เพื่อพัฒนาการ
             ปฏิบัติงาน หรือสรางความกลมเกลียว หรือสันติภาพ ทักษะการสรางความปรองดองคือ การ
             ลดความตองการ หรือความเห็นแกตัวของแตละฝายลง ความยืดหยุน หรือการรับฟงคําสั่ง
                     วิธีการประนีประนอม (Compromising) เปนวิธีการจัดการความขัดแยงที่ไดผลปาน
             กลางทั้งสวนที่ฝายบริหารตองการและความรวมมือของผูเกี่ยวของ ผูบริหารอาจจะเลือกใช

             วิธีการประนีประนอมในกรณีที่ความขัดแยงเปนปญหาระดับกลาง หรือไมก็มีอํานาจในการ
             จัดการเทา ๆ กัน ระหวางคูขัดแยง หรือมีขอจํากัดดานเวลา สวนทักษะในการจัดการ
             ประนีประนอมนั้น คือ การเจรจาตอรอง การแสวงหาจุดรวม การประเมินคานิยม หรือการ

             ยอมถอยกันคนละกาว เปนตน
                     วิธีการประสานความรวมมือ (Collaborating) เปนวิธีการจัดการความขัดแยงที่เชื่อ
             วาไดผลดีทั้งสองฝาย คือฝายบริหารก็บรรลุผลและผูเกี่ยวของก็ใหความรวมมือ การประสาน
             ความรวมมือเปนการกระตุนและแสวงหาแนวคิดที่ดีที่สุดบนฐานของแนวคิด โดยอาศัยความ

             รวมมือจากผูเกี่ยวของทั้งหมดเพื่อนําเสนอแนวคิดที่เชื่อวาดีกวาเดิม จนกวาจะไมมีใครเสนอ
             แนวคิดใหมที่ดีกวาเดิมเพิ่มเติมอีก ผูบริหารอาจจะเลือกใชวิธีการจัดการความขัดแยงแบบนี้
             เมื่อเรื่องที่ขัดแยงนั้นมีความสําคัญอยางยิ่งและมีเวลามากพอที่จะดําเนินการแกไข ทักษะที่ใช
             คือ การรับฟงอยางใสใจ การพบปะกันแบบกัลยาณมิตร การแสดงออกในความหวงใย หรือ

             การวิเคราะหใหเห็นผลสุดทายที่จะเกิดขึ้น
                     แนวทางในการจัดการความขัดแยงที่กลาวถึงไวในคูมือการจัดการความขัดแยงของ
             Centre for Multiparty Democracy (2016) มีสามแบบคือ แกทางตรง แกทางออม และ
             การประนีประนอม ดังนี้

                     1. การจัดการความขัดแยงทางตรง (Direct Conflict Management Approaches)
             มีสามแบบคือ แบบแพดวยกันทั้งคู (Lose-lose Model) เชน การหลีกเลี่ยง การถนอมน้ําใจ
             หรือการประนีประนอม สําหรับแบบแพ-ชนะ (Win-lose Model) อาจจะใชการแกปญหา
              แบบเลือกขาง หรือแบบใชอํานาจบังคับ สวนแบบชนะ-ชนะ (Win-win Model) อาจจะใช

             แบบประสานความรวมมือ หรือแบบแกปญหาโดยยึดหลักเหตุผล
                     2. การจัดการความขัดแยงทางออม  (Indirect Conflict Management
             Approaches) อาจจะเลือกใชวิธีการไดผลประโยชนรวมกัน หรือ การสงตอใหผูบริหาร
             ระดับสูงแกปญหา

                     3. การจัดการความขัดแยงแบบประสานประโยชน (Negotiation and Mediation)
             มีสองแบบใหญ ๆ คือการใชวิธีการเจรจาตอรอง กับวิธีไกลเกลี่ยโดยบุคคลที่สาม
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16