Page 13 - JRISS-vol.2-no2
P. 13

8  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                     เพศ (Gender) เพศแตกตางกันมีมุมมองแตกตางกัน ทั้งผูเลือกแบบการจัดการและ
             ผูเกี่ยวของกับกรณี โดยเชื่อวาแตละเพศมีลักษณะและความชอบแตกตางกัน

                     อํานาจแหงตน (Self-concept) การตระหนักรูในตัวตน การคิด และการปฏิบัติตน
             ของบุคคลมีผลสําคัญตอการรับรูและเลือกวิธีการที่จะจัดการกับความขัดแยง
                     ความคาดหวัง (Expectations) จุดเริ่มที่สําคัญในการแกปญหาความขัดแยงคือความ
             คาดหวังที่มีตอเรื่องดังกลาววาเราเห็นวาสําคัญไหม จําเปนตองแกไขหรือไม ผลจะเปนอยางไร
             เปนตน

                     สถานการณ (Situation) คือความขัดแยงนั้นเกิดที่ไหน ใครเกี่ยวของบาง และเรารู
             ไหมวาเรากําลังขัดแยงอยูกับใคร เรื่องนั้นเปนเรื่องสวนตัว หรือเรื่องวิชาชีพ
                     ตําแหนงหนาที่ (Position) ของผูบริหาร หรือผูเกี่ยวของกับการจัดการความขัดแยง

             โดยเฉพาะตองรูวาเรามีอํานาจในการจัดการเรื่องนั้นมากนอยเพียงใด
                     การปฏิบัติ (Practice) การที่เราจะเลือกใชวิธีใดจัดการความขัดแยงนั้น ขึ้นอยูกับ
             วิธีการที่เคยเลือกและผลที่เกิดขึ้นในการแกปญหาที่ผานมา ถาแบบไหนใชกับเรื่องใดไดผล เรา
             ก็มักจะเลือกใชแบบนั้นอีก

                     แนวการเลือกวิธีการจัดการ (Determining the best mode) ซึ่งขึ้นอยูกับความรู
             ทักษะ และประสบการณที่ใชในการพิจารณาวาจะเลือกใชวิธีการจัดการปญหาความขัดแยง
             แบบใด
                     ทักษะในการสื่อสาร (Communication skills) การสื่อสารเปนองคประกอบสําคัญ

             ในการแกปญหาความขัดแยง คนที่สามารถสื่อสารไดดี สรางสรรคมักจะแกปญหาไดดีวาคนที่
             พูดไมคอยรูเรื่อง
                     ประสบการณชีวิต (Life experiences) คนเราจะคิดและทําอะไร อยางไรขึ้นอยูกับ
             ประสบการณชีวิตดวย ประสบการณมาก และรูมาก โดยเฉพาะเกี่ยวกับการแกปญหาความ

             ขัดแยงจะทําใหผูบริหารเขาใจและเห็นชองทางในการแกปญหาความขัดแยงไดมากขึ้น
                     ปจจัย หรือแหลงที่มาของความขัดแยงที่ กลาวถึงไวในคูมือการจัดการความขัดแยง
             ของ Centre for Multiparty Democracy (2016) มีหาแหลงคือ การเมือง ศาสนา วัฒนธรรม
             ชนชั้นทางเศรษฐกิจ และ ขอจํากัดของทรัพยากร


             ขอสรุปและความเห็นทายเรื่อง
                     ความขัดแยงแมจะเปนภาพลบในความเขาใจของคนทั่วไป แตในทางวิชาการ
             โดยเฉพาะการบริหารแลว ความขัดแยงเปนปรากฏการณปกติ และที่สําคัญคือเปนสิ่งที่เปน

             สัญญาณของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นถาเขาใจและจัดการความขัดแยงไดดี จะเปน
             คุณตอองคการมากกวาเปนโทษ แตปญหาคือ ความขัดแยงมักจะสรางบาดแผลทางใจสําหรับ
             คนที่ไมเขาใจ และในองคการที่ไมตองรับผิดชอบตอผลการดําเนินงานของตนเทาที่ควร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18