Page 6 - JRISS-vol.2-no2
P. 6

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018   1

                                   ความขัดแยงและการจัดการความขัดแยง

                                  (Conflict and Conflict Management)

                                                                                            1
                                                                                สมาน อัศวภูมิ0


                บทคัดยอ
                        โอกาสที่จะมีความเขาใจสับสนกันระหวางความขัดแยง (Conflict) ในเชิงวิชาการกับ
                เชิงสังคมนั้นเปนไปไดคอนขางมาก โดยเฉพาะในบริบทสังคมไทย เพราะในความเขาใจและลง

                ความเห็นเกี่ยวกับความขัดแยงของคนโดยทั่วไปเมื่อไดยินหรือกลาวถึงความขัดแยงระหวาง
                บุคคล หรือกลุมบุคคลแลว มักจะหมายถึงการไมลงรอย หรือการทะเลาะกัน ตลอดจนการ
                เปนศัตรูกัน แตในเชิงวิชาการโดยเฉพาะในการบริหารองคการแลว ความขัดแยงเปนเพียง
                ความเห็นตางในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในการตัดสินใจหรือการดําเนินงานขององคการ อันอาจจะ

                เกิดขึ้นจากความแตกตางทางความคิด  ความเชื่อ ความเขาใจ หรือประสบการณของบุคคล นี่
                คือฐานคิดสําคัญของการจัดการความขัดแยง ที่ผูบริหารและบุคลากรในองคการควรทําความ
                เขาใจและแยกความแตกตางดังกลาวใหได จึงจะทําใหการจัดการความขัดแยงในองคการ
                ประสบผลสําเร็จ ซึ่งเปนวัตถุประสงคในการเขียนบทความนี้ โดยมุงสรางความเขาใจเกี่ยวกับ

                ความขัดแยงในการบริหารองคการ สาเหตุและแนวทางในการจัดการความขัดแยงที่เกิดขึ้นใน
                องคการตอไป

                Abstract

                        Possibility of misunderstanding between academic-based conflict and
                social-based conflict is likely to happen, especially in Thai society context,
                because  general laymen  would understand and judge conflict incidents  as

                disagreement, argument, or even being enemies while academic-based conflict,
                especially that is related to organizational administration, conflict is just the
                matter of different viewpoints on issues needed decisions or actions of the
                organizations, based on different ideas, beliefs, or experiences of each person.
                This is crucial foundation concepts of conflict management that administrators

                and personnel should understand and differentiate in order to successfully
                manage conflict in organization. This is the objective of this article, which focus


                1  รองศาสตราจารย, ดร. , ขาราชการบํานาญ, ผูอํานวยการศูนยการเรียนรูรวมจุด และอาจารยพิเศษ
                มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ  (Associate Professor, Dr., Retired Government Official, Director
                of Dots Learning Center and Part-Time Lecturer at Sisaket Rajabhat University)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11