Page 54 - JRISS-vol.2-no1
P. 54

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   49

                เขม (2553: บทคัดยอ) การศึกษาสภาพและปญหาการนิเทศภายในโรงเรียน สังกัดเทศบาล
                เขตการศึกษา 10 สภาพการนิเทศภายใน โรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 10 พบวา

                โดยภาพรวมและรายดานทุกดาน อยูในระดับมาก และเมื่อแยกพิจารณารายดานพบวาอยูใน
                ระดับมาก ทั้งนี้เพราะ ศึกษานิเทศกไดเขามาติดตามการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนใหอยูใน
                กรอบงานการนิเทศอยางสม่ําเสมอ และปญหาการนิเทศภายในโรงเรียน สังกัดเขตพื้นที่
                การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปญหาอยูในระดับนอย ซึ่งสอดคลองกับ
                วิสูตร มวงหวาน (2551: บทคัดยอ) ไดศึกษาสภาพและปญหาการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้น

                พื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 ผลการวิจัยพบวา สภาพการ
                นิเทศ ภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5
                พบวา ทั้งโดยรวมและรายดาน มีระดับการปฏิบัติอยูในระดับมาก ปญหาการนิเทศภายใน

                สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 ทั้งโดยรวมและ
                รายดาน มีระดับการปญหาอยูในระดับนอย และยังสอดคลองกับ ธวัชพงษ รูบุญ (2552:
                บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาสภาพและปญหาการนิเทศการเรียนการสอนโรงเรียนประถมศึกษา
                สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี ตามความคิดเห็นของผูบริหารกับครูผูสอนและ

                จําแนกตามขนาดโรงเรียน ผลการวิจัยพบวา สภาพการนิเทศการเรียนการสอนอยูในระดับ
                มากและมีปญหาอยูในระดับนอย ทั้งโดยรวมและรายดานเกือบทุกดาน
                       2. เปรียบเทียบสภาพ และปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนตามความคิดเห็นของ
                ผูบริหารสถานศึกษาและครู ในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 โดย

                จําแนกตามตําแหนง ประสบการณในการทํางาน และขนาดโรงเรียน ในสังกัดสํานักงานเขต
                พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 แตกตางกัน มีความคิดเห็นตอ การนิเทศในโรงเรียน ไม
                แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับ สภาพร เถรวงแกว (2550: บทคัดยอ) ไดทําวิจัยเรื่อง สภาพและ
                ปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนของกลุมโรงเรียน เครือขายนาหวาทาคูณ สํานักงานเขตพื้นที่

                การศึกษานครพนม เขต 2 ผลการวิจัยพบวา 1. สภาพการนิเทศภายในโรงเรียน โดยรวมอยู
                ในระดับมาก 2. ปญหาการนิเทศภายในโรงเรียน โดยรวมอยูในระดับปานกลาง 3. สภาพการ
                นิเทศภายในโรงเรียน ตามความคิดเห็นของผูนิเทศและผูรับการนิเทศโดยรวมและรายดานไม
                แตกตางกัน 4. ปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนตามความคิดเห็นของผูนิเทศและผูรับการ

                นิเทศโดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน และสอดคลองกับ ไพรัช ชารีแกว (2552 : 98) ได
                วิจัยเรื่องทัศนะของขาราชการครูที่มีตอสภาพปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา
                สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี ผลการวิจัยพบวา โรงเรียนประถมศึกษา
                สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี มีการดําเนินการนิเทศภายในโดยรวมอยูใน

                ระดับมาก ขาราชการครู ที่มีตําแหนงตางกัน มีทัศนะตอสภาพการนิเทศภายในโรงเรียน
                โดยรวมไมแตกตางกัน เมื่อจําแนกตามประสบการณการทํางานและขนาดของโรงเรียน และ
                สอดคลองกับ นันทนภัส  โซรัมย (2555 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับสภาพและปญหา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59