Page 53 - JRISS-vol.2-no1
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018

             งานที่ปฏิบัติรวมกัน สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด ไดแก จัดประชุมบุคลากรและผูเกี่ยวของเพื่อ
             ชี้แจง นโยบาย วัตถุประสงค และเปาหมาย

                     2. การเปรียบเทียบผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอน ในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
             การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 โดยจําแนกตามตําแหนง ประสบการณในการทํางาน และ
             ขนาดโรงเรียน มีความคิดเห็นตอสภาพและปญหาการนิเทศภายในของโรงเรียน สังกัด
             สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ทั้งโดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน
                     3. แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

             มัธยมศึกษา เขต 29
                       1. ดานสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการในการนิเทศ พบวา ขาดการ
             แตงตั้งกรรมการที่ชัดเจน แนวทางการนิเทศภายใน คือ ตั้งคณะกรรมการ สํารวจวันเวลาที่ครู

             ตองการรับการนิเทศ เพื่อกําหนดแผนการนิเทศ ตองจัดลําดับความสําคัญของปญหา และหา
             แนวทางแกไขที่ชัดเจน
                       2. ดานการวางแผน พบวา ไมไดวางแผนที่ชัดเจน ยังไมมีระบบการติดตามที่
             ชัดเจน วิธีการในการประเมินและเครื่องมือในการประเมินยังไมชัดเจน แนวทางการนิเทศ

             ภายใน กําหนดใหมีการนิเทศตามปฏิทินโดยมีตัวแทนจากผูบริหาร ฝายวิชาการและครูผูสอน
             เพื่อใหสามารถทําการนิเทศไดตามวันเวลาที่กําหนด จัดทําปฏิทินการนิเทศใหกับผูนิเทศและผู
             ถูกนิเทศไดรับทราบกอนที่จะมีการปฏิบัติตามแผน
                       3. ดานการปฏิบัติการนิเทศ พบวา ดําเนินการนิเทศไมตรงตามแผนที่วางไว แนว

             ทางการนิเทศภายใน คือ ใหมีการนิเทศสม่ําเสมอเปนระยะ ใหประเมินอยางตอเนื่อง ทําความ
             เขาใจกับผูรับการนิเทศ เพื่อหาเวลาที่เหมาะสมสอดคลองกัน ใหความรูความเขาใจในการ
             นิเทศ โดยการเขารับการอบรมศึกษาดูงาน เปนตน กําหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน สราง
             ความเขาใจระหวางผูรับการนิเทศกับผูนิเทศแบบกัลยาณมิตร สรางความตระหนักใหกับ

             บุคลากรใหมีความรับผิดชอบมากขึ้น ควรมีการปฏิบัติงานและหนาที่ที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
                       4. การประเมินผลการนิเทศ พบวา ขาดการติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง
             แนวทางการนิเทศภายใน คือ ตองมีการจัดประชุมหาแนวทางแกไข ผูบริหารจะตองควบคุม
             กํากับ ดูแล ติดตามผล อยางตอเนื่อง


             อภิปรายผล
                     จากสรุปผลการศึกษาสภาพ ปญหาและแนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน
             มัธยมศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ผลการวิเคราะหขอมูลมี

             ประเด็นที่ควรนํามาอภิปราย ดังนี้
                     1. สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
             มัธยมศึกษา เขต 29 โดยภาพรวม มีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับ พิบูลชัย ศรี
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58