Page 48 - JRISS-vol.2-no1
P. 48
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 43
3. The guidelines for the internal supervision in the schools under
study were as follows; the committee in charge should be formally appointed;
The dates and time which were convenient to teachers concerned should be
surveyed in order to determine the supervision planning; the problems should
be appropriately prioritized according to the order of significance; The
supervision dates should be clearly set.
In the process of the supervision, there should be representatives
from school administrators, academic section and teachers in order that all
concerned could be participate in the supervision. In addition, supervision
should be regularly undertaken.
Keywords: Internal Supervision
บทนํา
ปจจุบันงานในดานการศึกษาไดเจริญกาวหนาไปมาก มีการเปลี่ยนแปลงหลายๆ
ประการ เชน การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ความรูในสาขาวิชาการตางๆ เพิ่มขึ้น แนวความคิด
และแนวการเรียนการสอนใหมๆ เพิ่มขึ้น ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงจุดมุงหมายของการศึกษา
แตยังพบวา ผูบริหาร ครู และผูเกี่ยวของบางคน ยังไมสามารถปรับเปลี่ยนใหทันตอความ
เปลี่ยนแปลง ปญหาดังกลาวขางตนสามารถจะแกไขไดโดยอาศัยผูนิเทศ หรือศึกษานิเทศก ซึ่ง
มีหนาที่นิเทศการศึกษาใหครูมีความถนัดทางวิชาการ สามารถพึ่งตนเองได และนําความรู
เหลานี้ไปใชใหเปนประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนตามวัตถุประสงคที่วางไว ดังนั้น
เรื่องการนิเทศการศึกษาจึงเปนเรื่องสําคัญที่ศึกษานิเทศกควรจะไดศึกษาและทําความเขาใจ
ในหลักการ กระบวนการ และวิธีการของการนิเทศการศึกษา เพื่อนํามาใชในการพัฒนาการ
เรียนการสอนตอไปเพื่อใหเกิดความเขาใจในเรื่องของการนิเทศการศึกษาดีขึ้น
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 มาตรา 47 กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จําเปนตองอาศัย
กระบวนการปฏิบัติอยางหลากหลาย ซึ่งประกอบดวย กระบวนการที่สําคัญ คือ กระบวนการ
บริหารจัดการ กระบวนการจัดการเรียนรูและกระบวนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และการ
นิเทศภายใน มีกําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา พ.ศ. 2542 ซึ่งกําหนดการกํากับ ติดตามการจัดการศึกษาของผูบริหารไว
อยางชัดเจน นอกจากนี้ เกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ไดกําหนดใหการนิเทศภายในเปนสวนหนึ่งของเกณฑ
การประเมิน เพื่อใหผูบริหารสถานศึกษาไดตระหนักถึงความสําคัญ และนําไปปฏิบัติใน