Page 38 - JRISS-vol.2-no1
P. 38

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   33

                ของ ไพฑูรย  เจริญพันธุวงศ (2549, หนา 20) ที่ไดกลาววา งานวิชาการเปนหัวใจของสถานศึกษา
                ซึ่งเปนคํากลาวที่ใหความสําคัญตองานวิชาการมาก หนาที่ของโรงเรียนคือการใหความรูทาง

                วิชาการแกนักเรียนเปนสําคัญ แตการที่โรงเรียนจะสามารถทําหนาที่ดานนี้อยางสมบูรณตอเมื่อ
                ผูบริหารโรงเรียนใหความสําคัญแกงานวิชาการและเขาใจขอบเขตของการบริหารงานวิชาการใน
                โรงเรียนเปนอยางดี
                              1.1.2 ดานงานบริหารงบประมาณ โดยรวมและรายขออยูในระดับปานกลาง
                ทั้งนี้เนื่องจาก งานบริหารงบประมาณเปนงานสงเสริมสนับสนุนใหโรงเรียนมีปจจัยการบริหารใหมี

                ความพรอมทั้งในดานบุคลากร การจัดการเรียนรู สื่อการจัดการเรียนรู การพัฒนาอาคารสถานที่
                ใหเอื้อตอการจัดการเรียนรู สภาพปจจัยการบริหารของโรงเรียนดังกลาว ยังมีความไมเหมาะสมจึง
                เปนผลใหผูปกครองมีความคิดเห็นวาการบริหารงบประมาณยังไมดีเทาที่ควรทั้งในดานการจัดหา

                อุปกรณ สื่อการสอน คอมพิวเตอรใหเพียงพอ มีกองทุนเพื่อการศึกษาสําหรับนักเรียน การใชจาย
                งบประมาณอยางมีประสิทธิภาพพและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน รายงานการใชงบประมาณ
                ประจําป สอดคลองกับของเขมจิรา แซตั้ง สมเจตน ภูศรี และวรวรรณ อุบลเลิศ(2557) ไดศึกษา
                ความพึงพอใจของผูปกครองที่มีการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาลเอกชน สังกัดสํานักงาน

                เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 1 พบวา ผูปครองมีควมพึงพอใจดานธุรการและการเงิน อยูใน
                ระดับปานกลาง
                              1.1.3 ดานงานบริหารงานบุคคล โดยรวมและรายขออยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้
                เนื่องจากจํานวนบุคลากรยังไมเพียงพอ สอนยังไมตรงวิชาเอก ควรพัฒนาครูใหมีความรู

                ความสามารถในการจัดการเรียนรู มีความรักรัก ความเอาใจใสและเขาใจนักเรียน เปดโอกาสให
                นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม มีผลตอความคิดเห็นของผูปกครองวางานการบริหารงานคุคคลยัง
                ตองพัฒนา สอดคลองกับแนวคิดของ ศุภฤกษ  เนื่องจํานง (2552) ไดกลาววา ดานการบริหาร
                บุคคล วาเปน การดําเนินการเกี่ยวกับดานบุคคลที่มีอยูใหดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ

                ประกอบดวย มนุษยสัมพันธ ความเมตตากรุณา ความรับผิดชอบตอหนาที่ การแตงกายความ
                ประพฤติ ระเบียบวินัยของโรงเรียน การจัดบุคลากรเขาปฏิบัติงาน การจัดบุคลากรใหเหมาะกับ
                ความรูความสามารถ
                               1.1.4 ดานงานบริหารทั่วไป โดยรวมและรายขออยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้

                เนื่องจากทิศทางการบริหารโรงเรียนยังไมชัดเจน ขาดการสรางเอกลักษณของโรงเรียนทั้งดานการ
                บริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและดานการบริหารทั่วไป
                โดยเฉพาะในดานการจัดบริการน้ําดื่ม อาหารกลางวันที่สะอาดถูกสุขอนามัย การพัฒนาอาคาร
                สถานที่และบริเวณยังไมเหมาะสม อาคารสถานที่ใหมีความมั่นคงปลอดภัย มีความสะอาดรมรื่น

                สวยงาม หองน้ํา หองสุขา สุขภัณฑสะอาดเหมาะสมกับนักเรียนและมีเพียงพอ   โรงเรียนจึงควร
                พัฒนาใหเปนไปตามแนวทางที่ กระทรวงศึกษาธิการ (2546 ข, หนา 46) ไดกําหนดวาการบริหาร
                ทั่วไป เปนงานที่เกี่ยวของกับการจัดระบบบริหารองคกรใหบริการบริหารงานอื่นๆ ใหบรรลุผลตา
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43