Page 37 - JRISS-vol.2-no1
P. 37

32  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018

                     เมื่อตองการทราบคาความแตกตางเปนรายกลุมจะวิเคราะหความแตกตางเปนรายคู โดย
             วิธีของเชฟเฟ (Scheffe’s method) พบวา ความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของ

             โรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 จําแนก
             ตามระดับชั้น โดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จํานวน 1คู โดยระดับชั้น
             ประถมศึกษามีความตองการมากกวาระดับชั้นอนุบาล ดานงานบริหารงานวิชาการ แตกตางกัน
             อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จํานวน 1 คู โดยระดับชั้นมัธยมศึกษามีความตองการ
             มากกวาระดับชั้นอนุบาล และดานงานบริหารทั่วไป แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

             .05 จํานวน 2 คู โดยระดับชั้นประถมศึกษามีความตองการมากกวาระดับชั้นอนุบาล และระดับชั้น
             ประถมศึกษามีความตองการมากกวาระดับชั้นมัธยมศึกษา


             อภิปรายผล
                     จากผลการศึกษาสภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน
             บานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 ผูวิจัยขออภิปราย
             ผลในประเด็นดังนี้

                     1. สภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทากอ
             สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 ขออภิปรายดังนี้
                         1.1 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
             การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 โดยรวมและรายดานอยูในระดับปานกลาง เมื่อ

             พิจารณาเปนรายดาน เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ํา ดังนี้ ดานงานบริหารงานวิชาการ
             ดานงานบริหารทั่วไป ดานงานบริหารงบประมาณ และดานงานบริหารงานบุคคล  ทั้งนี้เนื่องจาก
             การจัดการศึกษาของโรงเรียนทั้ง 4 ดาน ยังไมมีความชัดเจน เหมาะสมยังไมเปนไปตามความ
             คาดหรังของผูปกครองนักเรียน การบริหารงานทั้ง 4 ดาน ถือเปนหลักสําคัญของการบริหาร

             โรงเรียน ผูบริหารและครูผูซึ่งทําหนาที่ในการบริหาร เปนผูที่มีบทบาทหนาที่อันสําคัญที่จะตอง
             ปฏิบัติ เพื่อใหโรงเรียนเปนโรงเรียนที่มีคุณภาพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคลองกับ
             ชวาลา  กันทอง (2548, หนา 82) ไดทําการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของผูปกครองนักเรียนที่มีตอ
             การจัดการศึกษาของโรงเรียน  บุญจิตวิทยา จังหวัดชลบุรี พบวา ผูปกครองนักเรียนมีความพึง

             พอใจตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน  บุญจิตวิทยา โดยรวมอยูในระดับปานกลาง
             ผูวิจัยขออภิปรายเปนรายดาน ดังนี้
                            1.1.1 ดานงานบริหารงานวิชาการ โดยรวมและรายขออยูในระดับปานกลาง
             ทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนยังดําเนินการไมเปนตามที่ควรจะเปนไดแก การจัดทําหลักสูตรเสริมอาชีพ

             การจัดกิจกรรมและอบรมดานคุณธรรมและจริยธรรมใหแกนักเรียน การสงเสริมใหนักเรียนมี
             ความคิดริเริ่มสรางสรรค การจัดการเรียนการสอนใหสามารถประกอบอาชีพได โรงเรียนควรให
             ความสําคัญของการบริหารวิชาการในประเด็นดังกลาวเพราะเปนหลักของโรงเรียน ดังคํากลาว
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42