Page 41 - JRISS-vol.2-no1
P. 41
36 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
ตองการพัฒนามากที่สุด คือ การจัดการเรียนการสอนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได
รองลงมาไดแก การรายงานประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนใหผูปกครองทราบอยางสม่ําเสมอ
การจัดทําหลักสูตรเสริมใหแกนักเรียน ความตองการพัฒนาอันดับที่สอง คือ ดานการบริหารงาน
ทั่วไป มีประเด็นตองการพัฒนามากที่สุด คือการพัฒนาบริเวรโรงเรียน ใหสะอาด รมรื่นสวยงาม
รองลงมาไดแก การจัดกิจกรรมสงเสริมระเบียบวินัยและความรับผิดชอบตอตนเองของนักเรียน มี
สนามเด็กเลนและเครื่องเลนที่เพียงพอและปลอดภัย หองนํา หองสุขา สุขภัณฑ สะอาดเหมาะสม
กับนักเรียนและมีจํานวนเพียงพอ ความตองการพัฒนาอันดับที่สาม คือ ดานการบริหารงานบุคคล
มีประเด็นตองการพัฒนามากที่สุด คือ ครูผูสอนมีเพียงพอและสอนตรงกับวิชาเอก รองลงมา
ไดแก ครูมีความสามารถในการสอน ครูผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม และความ
ตองการพัฒนาอับดับที่สี่ คือ การบริหารงานงบประมาณ มีประเด็นตองการพัฒนามากที่สุด คือ
การจัดซื้ออุปกรณ สื่อการสอน คอมพิวเตอรใชในการเรียนการสอนประจําปใหเพียงพอ รองลงมา
ไดแก การใชจายงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน ประเด็น
ตองการพัฒนาดังกลาวหากไดรับการตอบสนองจะสงผลโดยตรงตอคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ผูปกครองจะเกิดความพึงพอใจมีการรับรูที่ดีสงตอการสรางภาพลักษณของโรงเรียน ชื่อเสียงของ
โรงเรียน และโรงเรียนไดรับการยอมรับของสังคมตรงตามทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน
(ภารดี อนันตนาวี,2557)
3. เปรียบเทียบสภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน
บานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 จําแนกตาม
ระดับชั้น พบวา
3.1 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 จําแนกตามระดับชั้น โดยรวมและรายดาน ไมแตกตาง
กัน ทั้งนี้เนื่องจากผูปกครองสวนใหญเปนคนในทองถิ่นเดียวกัน ทุกคนอยูในสภาพแวดลอม
เดียวกัน การไดรับขอมูลขาวสารอาจใกลเคียงกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและความ
คิดเห็นระหวางผูปกครอง อาจทําใหเกิดการถายทอดทัศนคติ ความคิดเห็นตอกัน ทําใหแนวคิด
ผูปกครองทุกคนตางมีความมีการรับรูที่เหมือนกัน โดยโรงเรียนบานทากอ มีนโยบายและทิศ
ทางการดําเนินงานในทุกระดับชั้นในลักษณะเดียวกัน สภาพการจัดการศึษาทุกระดับชั้นอยูใน
ระดับปานกลาง ผูปกครองจึงรับรูสภาพการจัดการศึกษาแตละระดับชั้นไมแตกตางกัน เปน
ลักษณะที่โรงเรียนขาดความพรอมในการจัดการศึกษาโดยรวม ก็จะขาดแคลนในแตละงานและแต
ละระดับชั้น สอดคลองกับผลการวิจัยของนราพัฒน ภูตุชาดาและรัตนา ดวงแกว(2558) ไดศึกษา
ความพึงพอใจของผูปกครองตอการใหบริการทางการศึกษาของโรงเรียนในศูนญพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษานางแดดวังชมพู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1
พบวา เปรียบเทียบความพึงพอใจของผูปกครองตอการใหบริการทางการศึกษาที่แตกตางกันตาม
ประเภทของโรงเรียน มีความพึงพอใจไมแตกตางกัน