Page 42 - JRISS-vol.2-no1
P. 42
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 37
3.2 ความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทากอ สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 จําแนกตามระดับชั้น โดยรวม
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานงาน
บริหารงานวิชาการ และดานงานบริหารทั่วไป แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สวนดานงานบริหารงบประมาณ และดานงานบริหารงานบุคคล ไมแตกตางกัน ทั้งนี้เนื่องจาก
ผูปกครองเห็นวาครูผูสอนที่สอนในระดับชั้นที่ตางกัน จะมีการพัฒนาความรู ความสามารถในการ
จัดการเรียนรูใหกับเด็กแตละระดับชั้นแตกตางกัน ตามสภาพการเรียนรูอยางเหมาะสม และ
แตกตางตามวัยของนักเรียนในระดับชั้นนั้นๆ โดยสิ่งสําคัญคือการเขาใจชวงวัยของนักเรียน และ
ความสามารถในการเรียนรูของนักเรียน ครูผูสอนคํานึงถึงความสามารถที่ถนัดของนักเรียนแตละ
คน จึงทําใหผูปกครองมีมุมมองโดยรวมแตกตางกัน โดยผูปกครองของนักเรียนระดับประถมศึกษา
มีความตองการตอการจัดการศึกษามากกวาระดับอนุบาล สวนดานการบริหารงานวิชาการ
ผูปกครองของนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความตองการตอการจัดการศึกษามากกวาระดับอนุบาล
และดานการบริหารงานทั่วไป ผูปกครองนักเรียนระดับประถมศึกษามีความตองการตอการจัด
การศึกษามากกวาระดับอนุบาลและระดับมัธยมศึกษา สําหรับดานการบริหารงานบุคคลและดาน
การบริหารงบประมาณ ผูปกครองของนักเรียนแตละระดับไมแตกตางกัน ผลงานวิจัยสะทอนให
เห็นถึงสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนจําเปนตองมุงเนนพัฒนาดานการบริหารวิชาการใน
ระดับมัธยมศึกษา รองลงมา ไดแก ระดับระดับประถมศึกษา และระดับอนุบาล มุงเนนพัฒนาดาน
การบริหารงานทั่วไปในระดับประถมศึกษา รองลงมา ไดแก ระดับมัธยมศึกษา และระดับอนุบาล
สอดคลอง โดยกับผลการวิจัยของ ชลธิดา นาทมนตรี (2547) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษาความพึง
พอใจของผูปกครอง ครู นักเรียน ที่มีตอการบริหารงานโรงเรียนศรีวิกรม สังกัดสํานักบริหารงาน
คณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การ
เปรียบเทียบความพึงพอใจของผูปกครองที่มีบุตรหลานอยูในระดับชั้นตางกัน มีความแตกตางกัน
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
1.1 ดานงานบริหารงานวิชาการ โรงเรียนควรจัดเนื้อหาการเรียนการสอนสามารถ
นํามาใชในชีวิตประจําวันได โดยสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาดวยครูควรวัดและประเมินผล
พัฒนาการของนักเรียนตามสภาพจริงเปนรายบุคคลครบทุกดาน และบันทึกพฤติกรรมไวเปน
หลักฐาน ใชวิธีการที่หลากหลายในการวัดผลประเมินผลพัฒนาการของนักเรียน และนําผลการ
ประเมินพัฒนาการของเด็กมาเปนแนวทางปรับปรุงการจัดประสบการณที่เหมาะสมตาม
ความสามารถและความแตกตางของนักเรียนเพื่อใหเปนอยางประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลตอการเรียนการสอนตอไป