Page 32 - JRISS-vol.2-no1
P. 32

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   27

                ทางการเรียน O-net และ NT ต่ํากวาเกณฑและมีแนวโนมที่จะลดลง (สํานักทดสอบแหงชาติ
                ขั้นพื้นฐาน, 2558)

                        จากที่ไดกลาวมา ผูปกครอง ชุมชน องคกรและหนวยงานตางๆ ใหความสําคัญในการ
                เขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา โดยเฉพาะผูปกครองที่สงบุตรหลานเขามาศึกษาใน
                โรงเรียนยอมมีความหวัง ความปรารถนาและความตองการที่จะเห็นบุตรหลานไดมีการพัฒนา
                ทั้งดานความรู ความสามารถและทักษะตางๆ เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน ผูวิจัยจึงได
                ตระหนักเห็นความสําคัญของผูปกครองจึงไดทําการศึกษาความตองการของผูปกครองตอการ

                จัดการศึกษาของโรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                อุบลราชธานี เขต 5 เพื่อนําผลที่ไดนําไปปรับปรุง พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทา
                กอใหมีคุณภาพเปนไปตามความตองการของผูปกครองและชุมชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป


                วัตถุประสงคของการวิจัย
                        1.  เพื่อศึกษาสภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของ
                โรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5

                        2. เพื่อเปรียบเทียบระหวางสภาพกับความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษา
                ของโรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5
                        3. เพื่อเปรียบเทียบสภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของ
                โรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5

                จําแนกตามระดับชั้น

                หลักการแนวคิดของการจัดการศึกษาของโรงเรียน
                        การศึกษาเรื่อง สภาพและความตองการของผูปกครองตอการจัดการศึกษาของ

                โรงเรียนบานทากอ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 มี
                เนื้อหาสาระที่สําคัญเกี่ยวกับงาน 4 ดานของโรงเรียน คือ ดานการบริหารงานวิชาการ ดาน
                การบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารงานทั่วไป ดังนี้
                (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546 ข)

                          1.1 การบริหารงานวิชาการ หมายถึง งานที่เกี่ยวของกับหลักสูตรสถานศึกษา
                การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ซึ่งถือวาเปนหัวใจสําคัญในการจัดการศึกษา ผูที่
                เกี่ยวของในการจัดการศึกษาตองศึกษาและเขาใจงานบริหารวิชาการเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ
                ตอไป

                          1.2 การบริหารงานงบประมาณ หมายถึง งานที่เกี่ยวของกับการอนุมัติการใช
                จายงบประมาณ ซึ่งเนนความเปนอิสระในการบริหารใหมีความคลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได
                ยึดหลักการบริหารมุงเนนผลสัมฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน มีการจัด
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37