Page 30 - JRISS_VOL1
P. 30
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017 25
2. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาควรสนับสนุนวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญ
เพื่อเข้าไปช่วยเหลือโรงเรียนในด้านการจัดทําหลักสูตร การจัดทําสื่อ และการบูรณาการการ
เรียนรู้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ครูเพื่อให้เพื่อนครูได้ทําการสอนที่มีประสิทธิภาพต่อไป
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาหาความสัมพันธ์ของสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัย
ของโรงเรียนของสถานศึกษาทุกสถานศึกษา ทุกหน่วยงาน เพื่อเปรียบเทียบเป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การจัดการศึกษาต่อไป
2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความต้องการของชุมชน รูปแบบการพัฒนาหลักการ
จัดการศึกษาปฐมวัยในสถานศึกษาเพื่อการกําหนดวางแนวทางการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย
3. ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบหลักสูตรท้องถิ่นของหลายพื้นที่ เพื่อให้ทราบถึง
ความแตกต่างเพื่อประโยชน์ในการศึกษาของผู้บริหารและครู และบุคลากรอื่นๆ
เอกสารอ้างอิง
กมลทิพย์ เพียรกิจนา. (2557). สภาพและปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนในสังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2545). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใน
โรงเรียน : รูปแบบที่คัดสรร. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห่งชาติ.
_______. (2540). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2540 – 2544). กรุงเทพฯ : สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ภคมน โถปลาบุษราคัม. (2555). ปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนคร
ระยอง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2551). ประมวลสาระชุดวิชาการจัดประสบการณ์สําหรับเด็ก
ปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี:สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มงคล กุลเกลี้ยง. (2548). สภาพและปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนประถมศึกษา
ขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ครุศา
สตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.