Page 57 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 57

52  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                     ผูสูงอายุมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุในภาพรวมอยูในระดับมาก (X̅= 2.59, S.D. =
             0.651) เมื่อพิจารณาเปนรายขอเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 ลําดับแรกคือ วางของมี

             คมรวมกับเครื่องใชชนิดอื่น (X̅ = 2.88, S.D. = 0.394) สวมรองเทามิดชิดเมื่อเดินไปในที่รก (X̅
             = 2.87, S.D. = 0.417) และใชแสงสวางนําทางเมื่อเดินไปในที่มืด (X̅ = 2.86, S.D. = 0.395)
             สวนพฤติกรรมที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด 3 ลําดับคือ คืออานทําความเขาใจกับฉลากที่ติดมากับภาชะ

             บรรจุ (X̅ = 2.16, S.D. = 0.900) ยกของโดยไมสนใจวาจะมีความรอนมากและหนักมากหรือไม
             (X̅ = 2.17, S.D. = 0.880) และเก็บยาและเวชภัณฑไวในตูเฉพาะ (X̅ = 2.28, S.D. = 0.904)
             ตามลําดับ

                     ผูสูงอายุที่มีเพศ อายุ โรคประจําตัว และประสบการณการเกิดอุบัติเหตุที่ตางกัน มี
             พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน (p>0.05) สวนผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวัน
             ตางกัน มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดย
             ผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันทํางานบานมีระดับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ดีที่สุด (̅ =

             2.899, S.D. = 0.165)   (รูปที่ 1)


                                                                          2.899*
                                                                                           2.583*
              3       2.605 2.589  2.606  2.587  2.595 2.601  2.588 2.603  2.567*  2.594* 2.527* 2.305*
              2
              1
              0
                    เพศ  ชาย  หญิง  อายุ  60-69 ปี  70 ปีขึ้นไป  โรคประจําตัว  ไม่มี  มี  ประสบการณ์  ไม่เคย  เคย  กิจกรรมประจําวัน  อยู่บ้านเฉยๆ  ทํางานบ้าน  เลี้ยงหลาน  ประกอบอาชีพ  สังคมนอกบ้าน  อื่นๆ





             * นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
             รูปที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุจําแนกตามขอมูลสวน

             บุคคล (n= 290)

                     การวิเคราะหความสัมพันธ พบวาความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรู

             ภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การ
             ไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการปองกัน
             อุบัติเหตุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = .411, .204, .387 และ .291 ตามลําดับ)
             (ตารางที่ 2)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62