Page 56 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 56

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   51

                        ความเที่ยงตรง (Content Validity) โดยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 ทาน ใชคาดัชนี Index
                of Item Objective Congruence: IOC ทุกขอคําถามผานตามเกณฑที่ยอมรับไดคือ 0.7 ขึ้นไป

                        ความเชื่อมั่น (Reliability) นําแบบสัมภาษณไปทดลองใช (Try Out) กับผูสูงอายุใน
                จังหวัดศรีสะเกษ จํานวน 30 คน
                        ใชสูตร Kuder-Richardson :KR-20 ดานความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน =
                0.744 ใชสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient) ทดสอบในดาน
                        การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย = 0.866

                        การสนับสนุนของครอบครัว = 0.848
                        การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข = 0.786
                        พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ = 0.798


                การวิเคราะหขอมูล
                       1. วิเคราะหขอมูลสวนบุคคลโดยการแจกแจงความถี่ และหาคารอยละ
                       2. วิเคราะหระดับของตัวแปรโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                (Standard Diviation)
                       3. เปรียบเทียบความแตกตางโดยสถิติ t-test, One way ANOVA
                       4. วิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรโดยสถิติ Pearson’s Correlation
                       5. วิเคราะหปจจัยทํานายของตัวแปร โดยใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับ

                ความสําคัญของตัวแปรที่นําเขาสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis)
                       6. กําหนดระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติ (Level of Significance) เทากับ 0.05 เปน
                เกณฑในการทดสอบสมมติฐาน


                ผลการวิจัย
                        ผูสูงอายุเปนเพศชายรอยละ 40 เพศหญิงรอยละ 60 สวนใหญเปนผูสูงอายุตอนตน คือ
                อายุระหวาง 60–69 ปรอยละ 54.5 ไมมีโรคประจําตัวรอยละ 55.2 กิจกรรมประจําวันของ

                ผูสูงอายุสวนใหญอยูบานเฉย ๆ รอยละ 47.6 และไมเคยมีประสบการณการเกิดอุบัติเหตุรอยละ
                52.1
                        ผูสูงอายุมีความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันอยูในระดับสูงรอยละ 85.2 การ
                สนับสนุนของครอบครัว และการไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุขอยูในระดับมาก (̅

                = 2.833, S.D. = 0.461) และ (̅ = 2.731, S.D. = 0.607) ตามลําดับ สวนการรับรูภาวะ
                สุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกายอยูในระดับปานกลาง (̅= 1.998, S.D. =
                0.478)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61