Page 60 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 60

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   55

                ผูสูงอายุที่ไมมีโรคประจําตัวและมีโรคประจําตัวไดรับความรูและมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ
                ไมแตกตางกัน

                        กิจกรรมประจําวัน ผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันตางกัน มีพฤติกรรมการปองกัน
                อุบัติเหตุแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานขอที่ 1 โดย
                ผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันทํางานบาน มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุแตกตางกับผูสูงอายุที่
                มีกิจกรรมประจําวัน อยูบานเฉยๆ เลี้ยงหลาน ประกอบอาชีพมีรายได ไปพบปะสังคมนอกบาน

                และผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันทํางานบานมีระดับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ดีที่สุด (̅
                = 2.899, S.D.=0.165) นอกนั้นไมพบความแตกตาง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูสูงอายุสวนใหญเปน
                เพศหญิงรอยละ 60 ที่ยังทํางานบานและทํากิจกรรมตาง ๆ ภายในบานดวยตนเองอยาง
                สม่ําเสมอ ทําใหเกิดความรูและทักษะการปฏิบัติที่ถูกตองปลอดภัยและปองกันการเกิดอุบัติเหตุ

                อยางตอเนื่องจนเกิดพฤติกรรมดานทักษะพิสัย (Phychomotor domain) คือพฤติกรรมการ
                ปฏิบัติที่บุคคลแสดงออกมาเกี่ยวกับการใชความสามารถที่แสดงออกมาทางรางกายและ
                สังเกตเห็นได พฤติกรรมการปฏิบัติเปนพฤติกรรมขั้นสุดทายที่จะชวยใหบุคคลมีสุขภาพดี จาก
                เหตุผลดังกลาวจึงสงผลใหผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันทํางานบานมีพฤติกรรมการปองกัน

                อุบัติเหตุที่ดีที่สุดและแตกตางกันกับผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันอื่น ๆ
                        ประสบการณการเกิดอุบัติเหตุ ผูสูงอายุที่มีประสบการณการเกิดอุบัติเหตุและไมมี
                ประสบการณการเกิดอุบัติเหตุ มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน (p>0.05) ซึ่ง

                ปฏิเสธสมมติฐานขอ 1 ผลการศึกษาพบวา ผูสูงอายุสวนใหญไมเคยมีประสบการณการเกิด
                อุบัติเหตุรอยละ 52.1 และมีความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันอุบัติเหตุอยูในระดับสูงรอย
                ละ 85.2 จึงทําใหผูสูงอายุมีความระมัดระวังในการปองกันตนเองจากอุบัติเหตุไดถูกตอง ไมวาจะ
                เคยมีประสบการณ  การเกิดอุบัติเหตุและไมมีประสบการณการเกิดอุบัติเหตุ สงผลใหมี
                พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับงานวิจัยของธนวรรษน สํากําปง

                (2557) ที่ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุในผูสูงอายุจังหวัดขอนแกน พบวา
                ปจจัยประวัติการเคยเกิดอุบัติเหตุมีความสัมพันธกับการเกิดอุบัติเหตุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
                โดยการมีประวัติเคยหกลมมีความสัมพันธกับการหกลมสูงเปน 2.4 เทาของผูที่ไมมีประวัติเคยหก

                ลม เนื่องจากผูสูงอายุที่มีประวัติเคยเกิดอุบัติเหตุหกลมจะหมดความมั่นใจในการเดินหรือการทํา
                กิจกรรมอื่น ๆ เรียกภาวะนี้วาภาวะความกลัวการหกลม ซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอ
                ความสามารถในการเคลื่อนที่สงผลใหความสามารถในการทรงตัวลดลง นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุ
                หกลมไดงายขึ้น

                        ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ
                ปองกันอุบัติเหตุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = .411) ซึ่งยอมรับสมมติฐานขอที่ 2
                สอดคลองกับการศึกษาของ ฐิติมา คุมสืบสาย (2550) ศึกษาพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของ
                ผูสูงอายุจังหวัดนครปฐม พบวาความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65