Page 53 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             (Pender, 1996) และโคชิเออร, เฮิรบ, เบอรแมน, เบริก (Kozier, Erb, Benan & Burke, 2000)
             และแรงสนับสนุนจากครอบครัวที่ผูสูงอายุไดรับจากบุคคลในครอบครัว ตามแนวคิดของเชฟ

             เฟอร (Schaefer, 1981) มากําหนดเปนกรอบแนวคิดของการวิจัย โดยแสดงไวในแผนภูมิที่ 1
                              ตัวแปรตน                                       ตัวแปรตาม
                          ขอมูลสวนบุคคล
                   - เพศ              - อายุ
                   - โรคประจําตัว   - กิจกรรมประจําวัน
                   - ประสบการณการเกิดอุบัติเหตุ

                - ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน
                - การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย
                - การสนับสนุนของครอบครัว
                        -ดานอารมณ                                     พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของ
                        -ดานวัตถุ                                              ผูสูงอายุ
                        -ดานขอมูลขาวสาร
                - การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข
                        -การตรวจคัดกรองสุขภาพ
                        -การไดรับขอมูลขาวสาร
                        -การเยี่ยมบาน

                                      แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดในการทําวิจัย

             วิธีดําเนินการวิจัย
                     เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) รวบรวมขอมูลในระหวางเดือน

             กรกฎาคม พ.ศ.2560–มิถุนายน พ.ศ.2561
                     ประชากรคือ ผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่อาศัยอยูใน
             จังหวัดอุบลราชธานีจํานวน 244,132 คน จากทั้งหมด 25 อําเภอ 219 ตําบล 2,469 หมูบาน
                     กําหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรของ (Lemeshow et al., 2006.) ดังนี้

                                                            2
                                                                2
                                                      2
                                          n    =       Z α / 2σ  / d
                      เมื่อ   n    =    ขนาดของกลุมตัวอยาง
                             Zα / 2=  คามาตรฐานใตโคงปกติที่ระดับ 0.05 =  1.96
                               2
                             σ   =  คาความแปรปรวนของพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ
             ที่ไดจากการศึกษานํารอง = 18.87

                             d  =   ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดของการสุมตัวอยาง มีคาเทากับ 0.50
                        แทนคาในสูตร             n  =  (1.96*1.96) (18.87) / (0.50*0.50)
                                           n  =   289.96
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58