Page 59 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 59

54  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             อุบัติเหตุและการปองกัน เพิ่มขึ้น 1 คะแนนจะทําใหระดับคะแนนพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ
             ของผูสูงอายุเพิ่มขึ้น .314 คะแนน คะแนนการสนับสนุนของครอบครัวเพิ่มขึ้น 1 คะแนนจะทํา

             ใหระดับคะแนนพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุเพิ่มขึ้น .269 คะแนน คะแนนการ
             ไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุขเพิ่มขึ้น 1 คะแนน จะทําใหระดับคะแนนพฤติ
             กรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุเพิ่มขึ้น .146 คะแนน และคะแนนการรับรูภาวะสุขภาพ
             และการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกายเพิ่มขึ้น 1 คะแนนจะทําใหระดับคะแนนพฤติ
             กรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุเพิ่มขึ้น .131 คะแนน ตามลําดับ


             สรุปและอภิปรายผล
                     เพศ ผูสูงอายุเพศหญิงและเพศชาย มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน

             (p>0.05) ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานขอ 1 ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากสภาพแวดลอมของผูสูงอายุในจังหวัด
             อุบลราชธานียังมีวิถีการดําเนินชีวิตในแตละวันที่คลายคลึงกัน กิจกรรมประจําวันของผูสูงอายุทั้ง
             เพศหญิงและเพศชายสวนใหญคืออยูบานเฉยๆ คิดเปนรอยละ 47.6 การไดรับขอมูลขาวสารและ
             ความรูเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุจากครอบครัว และการไดรับบริการทางการแพทยและ

             สาธารณสุขอยูในระดับมากเหมือน ๆ กัน จึงทําใหผูสูงอายุทั้งเพศชายและเพศหญิงมีความรูความ
             เขาใจและดูแลเอาใจใสสุขภาพของตนเอง และมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน
                     อายุ ผูสูงอายุที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไมแตกตางกัน (p>0.05)
             ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานขอ 1 ทั้งนี้อาจเนื่องจากผูสูงอายุสวนใหญมีอายุระหวาง 60–69 ป รอยละ

             54.5 ซึ่งเปนชวงวัยผูสูงอายุตอนตน มีการรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของ
             รางกายอยูในระดับปานกลาง ยังสามารถมีกิจกรรมประจําวันและปฏิบัติตัวไดตามปกติ ไดรับ
             การสนับสนุนชวยเหลือจากครอบครัว เพื่อชวยปองกันอุบัติเหตุและไดรับบริการทางการแพทย
             และสาธารณสุขในระดับมากเทาเทียมกัน สงผลใหผูสูงอายุมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไม

             แตกตางกัน สอดคลองกับ ณภาภัช พุทธรักษา (2560) ที่ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับ
             พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของคนพิการทางการเคลื่อนไหวในอําเภอบานคาย จังหวัดระยอง
             พบวา อายุไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของคนพิการทางการเคลื่อนไหว

                     โรคประจําตัว ผูสูงอายุที่ไมมีโรคประจําตัวและมีโรคประจําตัวมีพฤติกรรมการปองกัน
             อุบัติเหตุไมแตกตางกัน (p>0.05) ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานขอ 1 จากผลการศึกษาพบวาผูสูงอายุสวน
             ใหญไมมีโรคประจําตัว รอยละ 55.2 อาจเนื่องจากในปจจุบันกระทรวงสาธารณสุขไทย (2560)
             ตองรับผิดชอบดานสุขภาพอนามัยของผูสูงอายุ มีนโยบายใหการดูแลสุขภาพของผูสูงอายุอยาง
             ครอบคลุม มิไดจํากัดเฉพาะผูสูงอายุที่เจ็บปวยหรือพิการเทานั้น มีการจัดใหบริการผูสูงอายุถึงที่

             บาน (Home Health Care) โดยจัดทีมสุขภาพ (Health Team) ซึ่งประกอบไปดวย แพทย
             พยาบาล นักสังคมสงเคราะห นักกายภาพบําบัด เปนตน ออกบริการตรวจและรักษาผูสูงอายุถึง
             ที่บาน ซึ่งขณะนี้สนับสนุนใหดําเนินการในทุกจังหวัด ทั้งเขตเมือง และเขตชนบท สงผลให
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64