Page 62 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 62

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   57

                สนับสนุนจากเพื่อนของผูสูงอายุมีความสัมพันธกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุอยางมี
                นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสอดคลองกับสมจิตร หนุเจริญกุล (2552) พบวาการที่บุคคล

                ไดรับการชวยเหลือจากบุคคลและกลุมบุคคลที่ปฏิสัมพันธดวย ทางดานอารมณ สังคม วัตถุ
                สิ่งของ รวมทั้งขอมูลขาวสาร ผลของแรงสนับสนุนทําใหบุคคลเกิดความตระหนัก สามารถ
                ตอบสนองตอสิ่งเราตาง ๆ ไดตามความตองการ สงผลใหบุคคลสามารถดําเนินชีวิตไดอยางมี
                ความสุข
                        การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม

                การปองกันอุบัติเหตุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r =.291) ยอมรับสมมติฐานขอที่ 2
                แสดงวาการที่ผูสูงอายุไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุขอยางทั่วถึงจะสงผลใหมี
                พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่สูงขึ้นดวย เนื่องจากปจจุบันการบริการทางการแพทยและ

                สาธารณสุข (การสาธารณสุขไทย, 2560) จะเนนการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค โดย
                ใหบริการดานการสงเสริมสุขภาพกับประชาชนทุกกลุมและทุกชวงอายุ ซึ่งมีวิธีการ ไดแกการให
                คําแนะนํา ใหคําปรึกษา ใหสุขศึกษา สงเสริมการออกกําลังกาย สนับสนุนชุมชนใหจัดทํา
                โครงการตาง ๆ เพื่อสรางเสริมสุขภาพ เชน ชมรมผูสูงอายุ ชมรมออกกําลังกาย เปนตน ซึ่งเปน

                การปองกันในระดับปฐมภูมิ เพื่อลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรค โดยการใหความรูทางดานสุขภาพ
                อนามัย การสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม การปองกันอุบัติเหตุ และการใหภูมิคุมกันโรค เปนตน ทําให
                ผูสูงอายุไดรับคําแนะนําเรื่องการดูแลตนเองในการปองกันอุบัติเหตุเมื่อเขาสูวัยสูงอายุจาก
                โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลและอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานอยางสม่ําเสมอ

                สงผลใหผูสูงอายุมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่สูงขึ้นได
                        การวิเคราะหความสามารถในการรวมกันทํานาย ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการ
                ปองกัน (X 1) การสนับสนุนของครอบครัว (X3) การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข
                (X4) และการรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย (X2) คือตัวแปรที่มี

                ความสัมพันธในรูปเชิงเสนและสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของ
                                           2
                ผูสูงอายุ (Y) ไดรอยละ 40.2 (R = .402) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ซึ่งยอมรับ
                สมมติฐานขอที่ 3  แสดงใหเห็นวาหากผูสูงอายุมีความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การ

                รับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การ
                ไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุขอยูในระดับดี ก็มีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการปองกัน
                อุบัติเหตุที่ดีมากขึ้นดวยเชนเดียวกัน

                ขอเสนอแนะที่ไดจากผลการวิจัย

                        1. สงเสริมการใหความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันแกผูสูงอายุอยางตอเนื่องและ
                ทั่วถึง ตามนโยบายเนนในดานเชิงรุก การออกเยี่ยมบาน การตรวจสุขภาพเพื่อคัดกรองโรคอยาง
                สม่ําเสมอ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67