Page 52 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 52

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   47

                เดียวกันในอัตราเทากับหรือมากกวารอยละ 7 ขึ้นไป จากการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศ
                ไทยของกรมการปกครองพบวา จังหวัดอุบลราชธานีเปนจังหวัดที่มีจํานวนผูสูงอายุมากเปนลําดับ

                ตนของประเทศ ติด 1 ใน 5 ของจังหวัดที่มีประชากรผูสูงอายุมากที่สุดในประเทศไทย มีจํานวน
                ผูสูงอายุทั้งหมด 244,132 คน ตอจํานวนประชากรทั้งหมด 1,805,300 คน (กรมการปกครอง,
                2560) คิดเปนรอยละ 13.52 จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นวาจังหวัดอุบลราชธานีไดกาวเขาสู
                สังคมผูสูงอายุอยางแทจริงแลว
                        จากความสําคัญของปจจัยตาง ๆ ที่กลาวแลวขางตน ทําใหผูวิจัยเล็งเห็นความสําคัญใน

                การสงเสริมพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ รวมทั้งผูวิจัยปฏิบัติงานและมีภูมิลําเนา
                อยูในจังหวัดอุบลราชธานีจึงมีความสนใจที่จะศึกษาปจจัยในเรื่องความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
                อุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย การ

                สนับสนุนของครอบครัว รวมทั้งการไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุขวามีความสัมพันธ
                และสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันการเกิดอุบัติเหตุของผูสูงอายุไดหรือไมอยางไร
                ทั้งนี้คาดวาผลจากการวิจัยครั้งนี้สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนา การวางแผน
                ดําเนินการเพื่อสงเสริมพฤติกรรมการปองกันการเกิดอุบัติเหตุของผูสูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานี

                ไดอยางถูกตองและเหมาะสมตอไป

                สมมติฐานการวิจัย

                       1. ผูสูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานีที่มี เพศ อายุ โรคประจําตัว กิจกรรมประจําวัน
                ประสบการณการเกิดอุบัติเหตุตางกันมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุแตกตางกัน
                       2. ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับ

                การเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การไดรับบริการทางการแพทยและ
                สาธารณสุข มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานี
                       3. ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับ
                การเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การไดรับบริการทางการแพทยและ
                สาธารณสุข เปนปจจัยที่สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุใน

                จังหวัดอุบลราชธานี

                กรอบแนวคิดในการวิจัย

                        จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมจะเห็นไดวามีปจจัยหลายอยางที่สงผลใหเกิด
                อุบัติเหตุในผูสูงอายุ ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาวาปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการ
                ปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ ไดแก เพศ อายุ โรคประจําตัว กิจกรรมประจําวัน ประสบการณ
                การเกิดอุบัติเหตุ และปจจัยอื่น ๆ ไดแก ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะ
                สุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การไดรับ

                บริการทางการแพทยและสาธารณสุข โดยใชแนวคิดการรับรูภาวะสุขภาพตนเองของ เพนเดอร
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57