Page 61 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 61
56 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018
ผูสูงอายุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และจากการศึกษาของสุเทพ ธรรมะตระกูล
(2552) เรื่องการวิจัยและพัฒนาการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุในจังหวัดเพชรบูรณ พบวาการเขา
รับการอบรมใหความรูการดูแลสงเสริมสุขภาพ ทําใหผูสูงอายุมีพฤติกรรมในการสงเสริมสุขภาพ
ที่ดีขึ้น แสดงใหเห็นวาผูสูงอายุที่มีความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันมากก็จะทําใหมี
พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ถูกตองสูงขึ้นดวย สอดคลองกับความหมายของพฤติกรรม
สุขภาพดานความรูหรือพุทธิพิสัย (Cognitive domain) เกี่ยวของกับความรู ความจํา ขอเท็จจริง
การพัฒนาความสามารถ ทักษะทางสติปญญา การใชวิจารณญาณเพื่อประกอบการตัดสินใจ
พฤติกรรมดานนี้เริ่มตนจากความรูระดับตาง ๆ และเพิ่มการใชความคิดและพัฒนาสติปญญา
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เห็นไดจากผลการศึกษาครั้งนี้พบวาผูสูงอายุสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุ
และการปองกันอุบัติเหตุอยูในระดับสูง รอยละ 85.2 และมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ
โดยรวมของผูสูงอายุอยูในระดับมาก (̅= 2.596, S.D. = 0.651) เชนเดียวกัน
การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย มีความสัมพันธ
ทางบวกกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r =.204) ซึ่ง
ยอมรับสมมติฐานขอที่ 2 แสดงวาผูสูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีการรับรูภาวะสุขภาพและ
การยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย จะมีแนวโนมของพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่สูงขึ้น
ดวย สอดคลองกับการศึกษาของมนพัทธ อารัมภวิโรจน (2557) เรื่องความสัมพันธระหวางระดับ
ความรูของผูปวยเกี่ยวกับภาวะเสี่ยง และความรุนแรงของโรคกระดูกพรุนกับพฤติกรรมปองกัน
ภาวะกระดูกพรุนในกลุมเสี่ยงพื้นที่ 5 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบวาการรับรูภาวะเสี่ยง
มีความสัมพันธทางบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการปองกันโรคกระดูกพรุนของผูสูงอายุในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = .633) แสดงใหเห็นวาการรับรู
ดานสุขภาพจะเปนแรงจูงใจที่จะทําใหเกิดการปฏิบัติพฤติกรรมในทางดานบวกเพื่อที่จะใหมี
ภาวะสุขภาพดีขึ้น และเปนองคประกอบทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคล ทําให
บุคคลมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพอยางจริงจัง (Pender, 1996)
การสนับสนุนของครอบครัว มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r =.387) ซึ่งยอมรับสมมติฐานขอที่ 2 แสดงวาการ
สนับสนุนของครอบครัวมีสวนสําคัญที่จะทําใหผูสูงอายุมีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ดีขึ้น
โดยเฉพาะอยางยิ่งจากผลการศึกษาการสนับสนุนทางดานอารมณ (Emotional Support) มี
คะแนนเฉลี่ยมากที่สุด (̅ = 2.903, S.D.=0.354) คือการยอมรับนับถือและใหความสําคัญใน
การตัดสินใจ ความหวงใย และการกระตุนเตือนจากบุคคลในครอบครัว ทําใหผูสูงอายุรูสึกวา
ไดรับความเอาใจใสหรือความรัก สงเสริมใหเกิดความมั่นใจ มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ดี
ขึ้นได สอดคลองกับงานวิจัยของพรทิพย มาลาธรรม (2552) ศึกษาการความสัมพันธระหวางแรง
สนับสนุนจากครอบครัวและแรงสนับสนุนจากเพื่อนกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุใน
ชนบท จังหวัดฉะเชิงเทรา พบวาการใหแรงสนับสนุนแกผูสูงอายุของครอบครัวและการรับรูแรง