Page 58 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 58
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018 53
ตารางที่ 2 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปร (n= 290)
ความสัมพันธ (คา r) พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ (Y)
*
ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน (X1) .411
การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย (X2) .204 *
การสนับสนุนของครอบครัว (X3) .387 *
*
การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข (X4) .291
* นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรที่นําเขาสมการ พบวา
ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน (X1) การสนับสนุนของครอบครัว (X3) การไดรับบริการ
ทางการแพทยและสาธารณสุข (X4) และการรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ของรางกาย (X2) คือตัวแปรที่มีความสัมพันธในรูปเชิงเสนและสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรม
2
การปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ (Y) ไดรอยละ 40.2 (R = .402) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่
ระดับ ตารางที่ 0 . 05 ) 3)
ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรที่นําเขา
สมการ (n= 290)
ลําดับของตัวแปรที่ไดรับการคัดเลือก β Beta t –value p-value
คาคงที่ (Constant) 11.093 4.521 < .001
ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน (X1) .905 .314 6.096 <
. 001
การสนับสนุนของครอบครัว (X3) .394 .269 5.122 <
. 001
การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข (X4) .159 .146 2.789 .006
การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับ
การเปลี่ยนแปลงของรางกาย (X2) .093 .131 2.612 .009
2
2
R = .650 R = .402 Adj R = .393 F-test = 30.887 p-value < . 001
สามารถเขียนสมการถดถอยเชิงเสนในรูปคะแนนดิบไดดังนี้
Y = 11.093 + .905 (X1) + .394 (X3) + .159 (X4) + .093 (X2)
สมการถดถอยเชิงเสนในรูปคะแนนมาตรฐาน
Z = .314 (X1) + .269 (X3) + .146 (X4) + .131 (X2)
ซึ่งหมายความวา ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันเปนตัวแปรที่มีอิทธิพลใน
การทํานายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุไดมากที่สุด โดยถาคะแนนความรูเกี่ยวกับ