Page 55 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 55
50 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018
4. มีความสามารถในการสื่อสาร ทั้งการพูด การฟง และสามารถตอบแบบสัมภาษณได
5. มีความยินดี และเต็มใจที่จะใหสัมภาษณ
การพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง
งานวิจัยครั้งนี้ไดเสนอผานการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย
มหาวิทยาลัยราชธานีและไดทําการพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยางโดยจัดทําเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค
การศึกษาวิจัยและการเก็บขอมูล โดยใหกลุมตัวอยางเซ็นยินยอมเขารวมการศึกษาไวเปน
หลักฐาน และแจงใหทราบวาการใหความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนไปตามความสมัคร
ใจของกลุมตัวอยาง ขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณของกลุมตัวอยางจะเปนความลับและจะไมถูก
เปดเผยเปนรายบุคคล ผูวิจัยจะเปนผูวิเคราะหขอมูลดวยตนเองและเปนการนําเสนอขอมูลใน
ภาพรวม จะไมมีผลกระทบใด ๆ ตอกลุมตัวอยางทั้งดานรางกายและจิตใจ และกลุมตัวอยาง
สามารถถอนตัวได หากไมตองการมีสวนรวมในการศึกษาครั้งนี้โดยไมตองอธิบายเหตุผล และไม
มีผลกระทบตอการเขาถึงบริการสุขภาพหรือสิทธิประโยชนใด ๆ อันพึงไดรับทั้งสิ้น
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เปนแบบสัมภาษณมีทั้งหมด 6 สวน ที่ผูวิจัยสรางขึ้นจากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี
วรรณกรรม งานวิจัยที่เกี่ยวของและจากการสัมภาษณผูสูงอายุ
สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ โรคประจําตัว กิจกรรมประจําวัน และ
ประสบการณการเกิดอุบัติเหตุ ลักษณะคําถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Check list) จํานวน
5 ขอ
สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน จํานวน 12 ขอ ลักษณะเปนแบบ ถูก–
ผิด (dichotomous scale) ดัดแปลงจากทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุของวีรศักดิ์ เมืองไพศาล (2557)
สวนที่ 3 การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกายผูสูงอายุ
จํานวน12 ขอ ลักษณะแบบวัดมาตราสวนประมาณคา (Rating scale)
สวนที่ 4 การสนับสนุนของครอบครัว ดานอารมณ ดานวัตถุ ดานขอมูลขาวสาร
ดัดแปลงจากทฤษฎีของ Shaffer’s (1981) และแบบสัมภาษณของฐิติมา คุมสืบสาย (2550)
จํานวน 8 ขอ ลักษณะแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale)
สวนที่ 5 การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข ดานการตรวจคัดกรองสุขภาพ
ดานการไดรับขอมูลขาวสาร จํานวน 8 ขอ ลักษณะแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale)
สวนที่ 6 พฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ จํานวน 12 ขอ ลักษณะแบบ
มาตราสวนประมาณคา (Rating scale)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ