Page 18 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 18

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   13

                were analyzed using statistics by frequency, percentage and mean. The results
                showed that most of nursing students had a good level of knowledge about

                exercise ( X  = 90.05, SD = 5.90) good level of attitude about exercise ( X = 3.31,
                SD = 0.17) and Moderate level of exercise behaviors ( X = 2.71, SD = 0.13). The
                results of this research can be information for educational institutions plan to
                increase motivation for nursing students to exercise more.

                Keywords: Knowledge, Attitude, Exercise Behaviors, Nursing students

                ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

                        การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมเศรษฐกิจการเมืองวัฒนธรรมและความเจริญกาวหนา
                ของเทคโนโลยี ขอมูลขาวสารที่ทันสมัย ทําใหประชาชนในปจจุบันมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของ
                ตนเอง และบุคคลภายในครอบครัวตองทํางานแขงกับเวลา จึงเนนความสะดวกในการบริโภค
                อาหารจานดวน หรืออาหารฟาสตฟูด อาหารสําเร็จรูป สวนใหญเปนอาหารที่มีแคลอรี่สูง สงผล
                ใหคนไทยประสบปญหาน้ําหนักเกิน และโรคอวนเพิ่มอยางตอเนื่องจากการศึกษารายงานการ

                สํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกาย (วิชัย เอกพลากร, 2559) พบวา ในประเทศ
                ไทยภาวะน้ําหนักเกินและโรคอวนในวัยเรียนและวัยรุนเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญของประเทศ
                ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนกัน การสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกายป พ.ศ. 2539-

                2540 2544 และ 2551-2552 พบวามีความซุกของภาวะน้ําหนักเกินและโรคอวนในกลุมเด็กวัย
                เรียนรอยละ 5.8, 6.7 และ 9.73ตามลําดับ จะเห็นไดวาปญหาน้ําหนักเกินและโรคอวนในวัย
                เรียนและวัยรุนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและหากยังปลอยใหมีภาวะอวนจะสงผลทําใหเกิดผลตอ
                สุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว วัยเรียนและวัยรุนที่เปนโรคอวน สามารถนําไปสูการเกิดโรค

                อวนในวัยผูใหญ และมีความสัมพันธกับอัตราปวยและอัตราตายกอนวัยอันควรในวัยผูใหญ
                ผลกระทบของภาวะน้ําหนักเกินและโรคอวน มีหลายประการ ดังนี้ (กัลยาณี โนอินทร, 2560) 1)
                ผลกระทบดานรางกาย พบความผิดปกติหรือโรคหลายชนิดซึ่งเปนผลมาจากภาวะน้ําหนักเกิน
                และโรคอวนในวัยเรียนและวัยรุน ไดแกกลุมอาการเมตาบอลิค (metabolic syndrome)

                ประกอบดวย ภาวะดื้ออินซูลินหรือมีระดับกลูโคสในเลือดสูง (elevated glucose) ความดัน
                โลหิตสูง ภาวะอวนลงพุง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (dyslipidemia) กลุมความผิดปกติที่
                กลาวมาขางตนเปนปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหลอดเลือดหัวใจ
                (cardiovasculardisease) ปญหาระบบหายใจ เชน ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ

                (obstructive sleep apnea ปญหาระบบกระดูกและขอปญหาระบบทางเดินอาหาร 2)
                ผลกระทบดานจิตใจ วัยเรียนและวัยรุนที่มีภาวะน้ําหนักเกินและ โรคอวนจะมีปญหาทางดาน
                จิตใจมากกวา วัยเรียนและวัยรุนที่ไมอวน ผลกระทบดานจิตใจมีหลายประการ ไดแก โรคสมาธิ

                สั้น (attention-deficit hyperactivity disorder หรือ ADHD) ความผิดปกติที่เกิดจากปจจัย
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23