Page 19 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 19

14  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             ภายในของบุคคล (internalizing disorders) มักจะแสดงอาการเครียด วิตกกังวล หรือขาด
             ความมั่นใจ เปนตน และความผิดปกติที่เกิดจากปจจัยภายนอกของบุคคล (externalizing

             disorders) เชน การไมสามารถปรับตัวเองใหเขากับสิ่งแวดลอม ซึ่งทําใหเกิดความบกพรองหรือ
             สูญเสียการทําหนาที่ของบุคคล และปญหาดานจิตใจอื่น ๆ เชน ความไมพึงพอใจ ในรูปรางของ
             ตนเอง (body dissatisfaction) กลุมอาการความผิดปกติการกินอาหาร (eating disorder
             symptoms) การถูกกลั่นแกลง (bullying) การขาดทักษะทางดานสังคม และการมีพฤติกรรม
             การกินอาหารที่ไมดี เปนตน

                     จะเห็นไดวาหากปลอยใหเกิดภาวะน้ําหนักเกินหรืออวน จะสงผลกระทบตอบุคคลทั้ง
             รางกายและจิตใจ ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหมีการออกกําลังกายอยางถูกตองสม่ําเสมอเพื่อปองกัน
             ปจจัยเสี่ยงดังกลาวการออกกําลังกายเปนกลยุทธที่สําคัญประการหนึ่งในการสรางความแข็งแรง

             ดานสุขภาพ เปนพฤติกรรมสุขภาพที่มีประโยชนเพราะทําใหระบบอวัยวะตางๆของรางกายไดรับ
             การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานปอดและหัวใจ ระบบภูมิคุมกัน ระบบตอมไรทอ
             และการเผาผลาญพลังงาน ระบบกลามเนื้อและกระดูก ชวยปองกันการเกิดโรคที่สามารถปองกัน
             ได เปนกิจกรรมที่สนุกสนาน ทาทายความสามารถและสรางสุขภาพที่ดีกับทุกเพศทุกวัย

             โดยเฉพาะในวัยรุน การออกกําลังกายยังทําใหมีรูปรางที่สงางาม จิตใจที่แจมใส อารมณดีมี
             สัมพันธภาพที่ดีตอผูอื่น มีไหวพริบและสติปญญาที่ดี ไมใจรอนหรือโมโหงาย มีความสุขุม
             รอบคอบ และชวยคลายเครียดไดเปนอยางดี (สมนึก แกววิไล, 2552) แตจากการสํารวจสุขภาพ
             คนไทยครั้งที่ 5 (วิชัย เอกพลากร, 2559) พบวาประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไปมีกิจกรรมทาง

             กายยามวาง (เชน เลนกีฬา ออกกําลังกาย) ในระดับเพียงพอเพียงรอยละ 20.6 เทานั้น และยัง
             พบวาคนที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลมีสัดสวนของการมีกิจกรรมทางกายไมเพียงพอมากกวาคนที่
             อยูนอกเขตเทศบาลรอยละ 21.6 และ 17.2 ตามลําดับดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนไทย
             ใหหันมาใสใจการออกกําลังกายเพิ่มมากขึ้นจึงเปนเรื่องสําคัญ การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีตองเริ่ม

             ปลูกฝงตั้งแตวัยเยาว จะทําใหบุคคลปฏิบัติจนเปนกิจวัตรประจําวันที่กอใหเกิดผลดีตอสุขภาพซึ่ง
             นักศึกษาพยาบาลเปนกลุมวัยรุนตอนปลายโดยเฉพาะนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1 มีการ
             เปลี่ยนแปลงทางดานรางกายและจิตใจมีการเจริญเติบโตและพัฒนาระบบตาง ๆ ของรางกาย
             รวมถึงสรางพลังงานสําหรับการใชประกอบกิจกรรมตางๆในแตละวัน เพื่อใหไดรับพลังงานตาม

             ความตองการของรางกายจึงควรตองมีการออกกําลังกายสม่ําเสมอ เพื่อเปนการพัฒนาการการ
             เจริญเติบโตของรางกายใหเปนไปตามวัย
                     นักศึกษาพยาบาลคือบุคคลที่จะจบไปเปนพยาบาลในอนาคตเปนบุคคลที่มีบทบาทใน
             การสรางเสริมสุขภาพของประชาชนและผูปวยเพื่อใหมีสุขภาพที่ดีการที่นักศึกษาพยาบาลจะ

             สอนใหคําแนะนําใหคําปรึกษาและกระตุนใหประชาชนและผูปวยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีควรเริ่ม
             จากการที่นักศึกษาพยาบาลตองมีการปฏิบัติอยางถูกตองดวยตัวเองกอน การมีสุขภาพที่ดีจะทํา
             ใหนักศึกษาพยาบาลมีพละกําลังในการทําบทบาทหนาที่ของผูนําในการสรางเสริมสุขภาพได
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24