Page 21 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 21

16  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             จึงทําใหผูวิจัยสนใจศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสุขในการทํางานของผูที่ทํางานในหอผูปวย
             ฟนฟูสมรรถภาพผูเสพยาเสพติด เพื่อใหทราบถึงปจจัยที่มีอิทธิพลดานความสุขในการทํางาน ซึ่ง

             จะชวยใหผูบริหาร ผูกําหนดนโยบายและนักพัฒนาทรัพยากรมนุษยเขาใจปจจัยที่มีอิทธิพลตอ
             ความสุขในการทํางานของกลุมบุคลากรเชิงสรางสรรค และสามารถนําผลการศึกษานี้มา
             ประยุกตใชในการพัฒนาบรรยากาศและสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมถึงการใหขวัญและ
             กําลังใจในการทํางาน เพื่อสงเสริมใหบุคลากรทุกระดับในหนวยงานและองคกรมีความสุข มี
             ชีวิตชีวาในการทํางาน ปฏิบัติงานอยางทุมเท ทําใหบุคลากรปฏิบัติงานไดอยางเต็มกระตือรือรนที่

             จะพัฒนางานและเพิ่มผลผลิตหรือทํางานอยางมีคุณภาพดียิ่งขึ้น สงผลใหรักในการทํางานและ
             บุคลากรจะคงอยูกับหนวยงานและองคไปเรื่อย ๆ จนหมดอายุของการทํางานอยางมีความสุข


             วัตถุประสงคการวิจัย
                     เพื่อศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสุขในการทํางานของผูที่ทํางานในหอผูปวยฟนฟู
             สมรรถภาพผูติดยาเสพติดแหงหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


             วิธีวิจัย
                     พื้นที่ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล หอผูปวยฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดแหงหนึ่งใน
             ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดําเนินการเก็บขอมูลในระหวางเดือน สิงหาคม–ตุลาคม 2560
                     ประชากรที่ทําการศึกษา ผูวิจัยคัดเลือกกลุมตัวอยางใชวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง โดย

             เปนบุคลากรที่ทํางานในหอฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด จากสายงานตาง ๆ ตามโครงสราง
             สายงานในโรงพยาบาลที่รักษาบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูเสพยาเสพติด จํานวนทั้งหมด 27 คน
             โดยแบงเปน ดังนี้
                     1) ผูที่ทํางานในสายบริหารโดยตําแหนงชํานาญการพิเศษ จํานวน 2 คน

                     2) ผูที่ทํางานในสายปฏิบัติการโดยตําแหนงปฏิบัติการ จํานวน 10 คน
                     3) ผูที่ทํางานสายสนับสนุนการปฏิบัติการ จํานวน 15 คน
                     เครื่องมือที่ใช  คือการเก็บขอมูลใชแบบสัมภาษณที่มีประเด็นสัมภาษณเชิงลึก
             รายบุคคล (In-depth interview) โดยประเด็นคําถามจะมาจากเรื่องของการบอกเลา

             ประสบการณในการทํางานความประทับใจในการทํางาน แลวเก็บขอมูลจากการสนทนากลุม
             (Focus group discussion) และนําขอมูลมาถอดความแบบคําตอคําวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา
             ตามวิธีของ แวน มาเนน (van Manen) ใชการวิเคราะหเนื้อหาโดยจัดกลุมขอมูลและประเด็น
             สําคัญจากการสัมภาษณ

                     กระบวนการเก็บขอมูล การวิจัยนี้เปนงานวิจัยเชิงพรรณนา เปนการศึกษาแบบราย
             กรณี โดยที่การศึกษาครั้งนี้เปนการอธิบายปรากฏการณวิทยาเชิงตีความ ที่มุงพัฒนาความรูจาก
             การบอกเลาประสบการณตรงของบุคคลที่เนนการใหความสนใจเกี่ยวความหมาย ความรูสึกและ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26