Page 48 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 48
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 43
ตารางที่ 4 รอยละของพยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก จําแนกตามคะแนนพฤติกรรมการปฏิบัติ ใน
การจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด กอน และ หลังทดลอง
กอนทดลอง หลังทดลอง
กิจกรรม ไมปฏิบัติ ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ ปฏิบัติ
รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ
การจัดสภาพแวดลอมของการจัดการความปวด
มีการลดเสียงในหอง 70 30 0 100
มีการลดแสงในหอง 100 0 0 100
การเตรียมทารกแรกเกิดเพื่อทําหัตถการ
ปลุกทารกกอนทําหัตถการ 0 100 0 100
การบรรเทาความปวดกอนทําหัตถการ 20 80 0 100
การบรรเทาความปวดระหวางทําหัตถการ
กระทําหัตถการดวยวิธีที่กอใหเกิดความปวด 10 90 0 100
นอยที่สุด
ประเมินความปวดของทารกแรกเกิด 70 30 20 80
บรรเทาความปวดขณะทําหัตถการ 60 40 0 100
การฟนฟูสภาพทารกแรกเกิดหลังไดรับความปวด
จากการทําหัตถการ
พยาบาลอยูกับทารกแรกเกิดหรือให บิดา 70 30 0 100
มารดา อยูกับทารกแรกเกิดและบรรเทาความ
ปวดหลังสิ้นหัตถการ
บันทึกอาการปวดและวิธีบรรเทาความปวดที่ 80 20 30 70
ใหแกทารกแรกเกิดลงในแบบบันทึกทางการ
พยาบาล
เมื่อพิจารณา เปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการปฏิบัติในการจัดการความปวด
เฉียบพลันในทารกแรกเกิดของพยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก กอนและหลังไดรับโปรแกรมการ
สงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ พบวา มีการปฏิบัติในการจัดการความปวดเฉียบพลันใน
ทารกแรกเกิด ถูกตองเพิ่มมากขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ( p < 0.05 ) ดังแสดงในตารางที่ 5