Page 51 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 51
46 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
หัตถการ โดยพยาบาลอยูกับทารกแรกเกิด หรือใหบิดามารดาอยูกับทารกแรกเกิดและบรรเทา
ความปวดหลังสิ้นหัตถการ และมีพยาบาลที่ศึกษาเพียง รอยละ 20 ที่บันทึกอาการปวดและวิธี
บรรเทาความปวดที่ใหแกทารกแรกเกิดลงในแบบบันทึกทางการพยาบาล สวนการปฏิบัติที่
พยาบาลที่ศึกษาทุกคนไมไดปฏิบัติตามแนวทาง คือ การลดแสงในหอง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการ
ที่พยาบาล รอยละ 70 ไมเคยไดรับการอบรมใหความรูเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลัน
ในทารกแรกเกิดโดยตรงมากอน ดังนั้นพยาบาลกลุมนี้จึงไมทราบวิธีจัดการความปวดเฉียบพลัน
ใหแกทารกแรกเกิดที่ถูกตอง ดังการศึกษา การจัดการความปวดของพยาบาลที่ใหการดูแลผูปวย
เด็ก อายุตั้งแตแรกเกิด ถึง 16 ป พบวา ภายหลังการผาตัด พยาบาลไมไดมีการจัดการความปวด
ใหแกผูปวยเด็ก (Twycross, 2006) สอดคลองกับการศึกษาการประเมินและการจัดการความ
ปวดจากการทําหัตถการในหนวยงานที่ใหการดูแลทารกแรกเกิดในออสเตรเลีย พบวา พยาบาลมี
การปฏิบัติการประเมินและการจัดการความปวดไมสม่ําเสมอ และไมมีความชัดเจนของนโยบาย
ในการจัดการความปวดสําหรับทารกแรกเกิดที่ไดรับความปวดจากการทําหัตถการ (Harrison et
al., 2006) นอกจากนี้การศึกษาของ บลูม และคณะ (Broom et al., 1996) ที่ทําการสํารวจใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา พบวา ทั้งแพทยและพยาบาลใหขอมูลวา ประสิทธิภาพในการประเมิน
และการจัดการความปวดในทารกแรกเกิดและเด็กเล็กอยูในระดับต่ํา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก การขาด
ความรู การขาดทักษะ ทัศนคติ และการขาดแหลงสนับสนุน
ภายหลังไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษในการจัดการความปวด
เฉียบพลันในทารกแรกเกิด โดยการใหปจจัยชักนําคือ การอบรมใหความรู ซึ่งเปนปจจัยภายใน
ตัวบุคคลที่จะสงเสริมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือแสดงพฤติกรรมสวนบุคคล สงผลใหพยาบาลมี
คาเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด เพิ่มสูงขึ้น อยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05 ) โดยที่พยาบาลมีการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรก
เกิด ไดถูกตองเพิ่มขึ้นมากกวา รอยละ 80 ในแตละกิจกรรม รวมถึงการบันทึกอาการปวดและวิธี
บรรเทาความปวดที่มีการปฏิบัติเพิ่มขึ้นถึง รอยละ 70 นอกจากการอบรมใหความรูแลว การวิจัย
ครั้งนี้ไดดําเนินการกระตุนใหเกิดการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดอยาง
ตอเนื่องดวยการใหขอมูลยอนกลับเปนปจจัยสงเสริม ซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่ทําใหบุคคลมี
พฤติกรรมที่ถูกตองเพิ่มขึ้น เมื่อพยาบาลไดรับขอมูลยอนกลับดวยการบันทึกเปนลายลักษณ
อักษรอยางเปนทางการ ซึ่งเปนผลการวิเคราะหเกี่ยวกับปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันใน
ทารกแรกเกิดของตนเอง จึงเกิดการยอมรับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยปรับเปลี่ยนการ
ปฏิบัติที่ไมถูกตอง และสงเสริมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลัน
ในทารกแรกเกิดที่ถูกตองเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการใหขอมูลยอนกลับในทันทีภายหลัง
การเกิดพฤติกรรม จะชวยกระตุนและเพิ่มความตระหนักใหมากขึ้น สงผลใหพยาบาลเกิดการ
ยอมรับการปฏิบัติของตน และไมลืมเหตุการณที่ผานมา (Tappen et al., 2004) ซึ่งสอดคลอง
กับการศึกษาการพัฒนาและการใชแนวปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษในการ