Page 44 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 44

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   39

                        ระยะที่  2  การดําเนินโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ  ในการจัดการ
                ความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดของพยาบาล ใชเวลา 3 เดือน

                        1. ผูวิจัยจัดการอบรมเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ใหแก
                พยาบาล โดยใชเวลาอบรม 2 ชั่วโมง ในการอบรม เปดโอกาสใหพยาบาลซักถามขอสงสัย ปญหา
                และอุปสรรคในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด มีการสาธิตยอนกลับวิธีการ
                จัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ทั้งนี้มีการนําเสนอผลการสังเกตการปฏิบัติการ
                จัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดของพยาบาลในเดือนแรก กอนการดําเนินโปรแกรม

                การสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ ใหพยาบาลไดรับทราบ
                        2. ผูวิจัยแจกคูมือเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ใหแก
                พยาบาลหลังการอบรมใหความรูและจัดบอรดสําหรับติดเอกสารนําเสนอขอมูลยอนกลับ การ

                ปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดของพยาบาลโดยภาพรวมและเอกสาร
                ความรูเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด
                        3. การใหขอมูลยอนกลับเปนรายบุคคล ระหวางดําเนินโปรแกรมการสงเสริมการใช
                หลักฐานเชิงประจักษ โดยการสงจดหมายปดผนึกใหภายหลังสิ้นสุดการปฏิบัติงานในแตละเวร

                นอกจากนี้ยังมีการใหขอมูลยอนกลับในภาพรวม โดยมีผลการปฏิบัติเปรียบเทียบกับการปฏิบัติที่
                ถูกตอง ในระยะเวลาที่ผานมาในแตละเวรของพยาบาล และมีขอความชมเชยเมื่อปฏิบัติถูกตอง
                และขอความกระตุนการปฏิบัติเพิ่มขึ้น
                        4. การติดโปสเตอรเตือน ผูวิจัยจัดทําภาพสี มีขอความวา “ลดปวดใหหนูหนอย”

                        5. ผูวิจัยจัดเตรียมอุปกรณตาง ๆ ซึ่งไดเลือกวิธีการจัดการความปวด 2 วิธี คือ การหอ
                ตัวและการใหดูดจุกนมหลอก โดยจัดไวในที่สามารถหยิบไดสะดวกขึ้น
                        ระยะที่ 3 การประเมินผล
                        1. ประเมินผลการอบรมใหความรู โดยแจกแบบวัดความรูใหพยาบาลทําภายหลังการ

                อบรมใหความรูทันที
                        2. ประเมินผลการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด โดยการ
                สังเกตการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดใน 4 สัปดาหแรกกอนการ
                อบรม และ 4 สัปดาหหลังการอบรม

                        3. ประเมินผลการดําเนินโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ ในการ
                จัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด โดยแจกแบบสอบถามความคิดเห็นตอการดําเนิน
                โปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษในเดือนที่ 4
                        การวิเคราะหขอมูล

                        ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป มีรายละเอียดดังนี้
                        1. ขอมูลทั่วไปของพยาบาล วิเคราะหโดยการ แจกแจงความถี่ หาคารอยละ คาเฉลี่ย
                และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49