Page 45 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 45
40 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
2. ขอมูลที่ไดจากการสังเกตการปฏิบัติของพยาบาล ในการจัดการความปวดเฉียบพลัน
ในทารกแรกเกิดในหอผูปวยวิกฤตเด็ก วิเคราะหหาคาความถี่ และรอยละ จําแนกตามกิจกรรม
การปฏิบัติการพยาบาลที่กําหนดไว
3. เปรียบเทียบคะแนนความรูในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด กอน
และหลังการไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ โดยใชสถิติ Wilcoxon
Match Paired Signed-Rank Test
4. เปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติของพยาบาลในการจัดการความปวดเฉียบพลันใน
ทารกแรกเกิด กอน และหลังการไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษโดยใช
สถิติ Wilcoxon Match Paired Signed-Rank Test
5. ความคิดเห็นของพยาบาลตอการดําเนินโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง
ประจักษ จากการวิเคราะห โดยการแจกแจงความถี่ และหาคารอยละ
ผลการวิจัย
1. ขอมูลทั่วไป
พยาบาลในหอผูปวยวิกฤติเด็ก ทั้งหมดเปนพยาบาลวิชาชีพ มีระยะเวลาทํางานในหอ
ผูปวยทารกแรกเกิด ต่ํากวา 10 ป รอยละ 60 โดยเฉลี่ย 7.5 ป ไมเคยเขารับการอบรมหรือประชุม
เกี่ยวกับการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด มากถึงรอยละ 70 ไดรับขอมูลจากการอานหนังสือ
หรือขาวสารเกี่ยวกับการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด รอยละ 80 ดังรายละเอียดในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของพยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก โรงพยาบาลมุกดาหาร จําแนก
ตามขอมูลทั่วไป
ขอมูลทั่วไป จํานวน (คน) รอยละ
ระดับการศึกษา
ปริญญาตรีทางการพยาบาล 10 100
ระยะเวลาทํางานในหอผูปวยทารกแรกเกิด (ป)
< 10 6 60
≥ 10 4 40
Χ= 7.5, S.D. = 7.3
การอบรมหรือประชุมเกี่ยวกับการจัดการความ-
ปวดในทารกแรกเกิด
ไมเคย 7 70
เคย 3 30
Χ = 1.3, S.D. = 0.48