Page 52 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 52
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 47
จัดการความปวดแบบเฉียบพลันของผูปวยเด็กเล็ก ที่พบวา ผลของการใชแนวปฏิบัติการ
พยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษในการจัดการความปวดแบบเฉียบพลันของผูปวยเด็กเล็ก
สามารถกอใหเกิดผลลัพธที่ดีกับผูปวยและครอบครัว รวมทั้งสามารถเพิ่มคุณภาพและมาตรฐาน
ทางการพยาบาลใหสอดคลองกับนโยบายของโรงพยาบาล ซึ่งในระยะแรกเริ่มของการใชแนว
ปฏิบัติ อาจตองทําความเขาใจและใหความรูกับบุคลากรทางสุขภาพ เพื่อใหสามารถใชแนว
ปฏิบัติไดอยางถูกตองและเกิดความรวมมือในการนําแนวปฏิบัติลงสูการพยาบาลและดูแลผูปวย
และตองมีการติดตามการจัดการความปวดในเด็กเปนระยะเพื่อใหแนวปฏิบัติดังกลาวสามารถ
จัดการความปวดไดอยางตอเนื่อง สงผลใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล
ตอไป (ภากร ชูพินิจรอบคอบ, 2558) ในหัวขอการตอบสนองดานพฤติกรรมตอความปวดของ
ทารกแรกเกิด และมีเพียงรอยละ 20 ที่มีความรูในหัวขอการประเมินความปวดในทารกแรกเกิด
ที่ไดรับการใสเครื่องชวยหายใจ นอกจากนี้มีความรูดานผลกระทบที่เกิดจากความปวดที่รุนแรง
ตอทารกแรกเกิด, วัตถุประสงคในการจัดการความปวดใหแกทารกแรกเกิดที่ไดรับความปวดจาก
การทําหัตถการ และการบรรเทาความปวดในทารกแรกเกิดระหวางทําหัตถการ Lumbar
puncture เพียงรอยละ 30 จากพยาบาลที่ศึกษา
ภายหลังไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ พบวา หลังอบรม
พยาบาลที่ศึกษา มีความรูเพิ่มมากขึ้นกวา กอนไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง
ประจักษ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ( p < 0.05 ) อาจเนื่องมาจากการอบรมใหความรู เปนปจจัย
ชักนําภายในตัวบุคคล ทําใหพยาบาลมีความรูที่ถูกตองเพิ่มมากขึ้นกวา กอนการอบรมใหความรู
นอกจากนี้การกระตุนเตือนดวยโปสเตอร ในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารก
แรกเกิดตามหลักฐานเชิงประจักษ เปนปจจัยสงเสริมอีกหนึ่งปจจัย อาจมีผลทําใหพยาบาล
สามารถระลึกได จดจําวิธีการปฏิบัติที่ถูกตองได และกระตุนเตือนใหมีการปฏิบัติที่ถูกตองมาก
ยิ่งขึ้น ดังที่พยาบาลที่ศึกษา รอยละ 90 เห็นควรใหมีการกระตุนเตือนดวยโปสเตอร จะชวย
กระตุนใหเกิดการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ไดถูกตองมากขึ้น การ
กระตุนเตือน มีผลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคลากร โดยสงผลใหมีการปฏิบัติตามที่
กําหนดมากขึ้น (Bontinx et al., 1993) ซึ่งผลการวิจัยนี้ตรงกับผลการศึกษาที่พบวา การติด
โปสเตอรภายในโรงพยาบาล มีผลทําใหบุคลากรมีการปฏิบัติการทําความสะอาดมือเพิ่มมากขึ้น
(Pittet et al., 2000) เชนเดียวกับการศึกษาผลการติดโปสเตอรเตือน หนาหองแยกผูปวยติดเชื้อ
สแตปฟโลคอคคัสออเรียส ที่ดื้อตอยาเมธิซิลลิน (MRSA) มีผลทําใหบุคลากรมีการปฏิบัติตามแนว
ทางการปองกันการแพรกระจายเชื้อเพิ่มมากขึ้น (Cromer et al., 2004)
ปญหาและอุปสรรคที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง มาจากการที่วัสดุอุปกรณในการจัดการความ
ปวดมีไมเพียงพอ และจัดวางไวในที่ที่ไมเหมาะสม ดังการศึกษาของ จรัสศรี เย็นบุตร และคณะ
(2550) ที่พบวา สิ่งที่บุคลากรตองการเพื่อสนับสนุนใหมีการปฏิบัติการประเมินและการจัดการ
กับความปวดใหผูปวยเด็กในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น คือ เครื่องมือที่ใชสําหรับบรรเทาความปวด