Page 43 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 43

38  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                     3. โปสเตอรเตือน เปนขอความกระตุนเตือนใหปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันใน
             ทารกแรกเกิด

                     4. จดหมายปดผนึก เปนจดหมายบันทึกขอความ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของพยาบาล
             แตละคน เปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ในแต
             ละเวรที่ผานมา จากการสังเกตของผูวิจัย ใน 4 กระบวนการ
                     5. อุปกรณสนับสนุนการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ไดแก จุกนม
             หลอก และผาสําหรับหอตัวทารกแรกเกิด

                     การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
                     1. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) ผูวิจัยนําคูมือ แผนการอบรม แบบวัด
             ความรู แบบบันทึกการสังเกต และแบบสอบถามความคิดเห็น ไปตรวจสอบความเที่ยงตรงตาม

             เนื้อหา โดยปรึกษากับผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 ทาน ประกอบดวย แพทยผูมีประสบการณดาน
             ทารกแรกเกิด 2 ทาน พยาบาลผูมีประสบการณดานทารกแรกเกิด 2 ทาน และอาจารยซึ่งเปนผู
             มีประสบการณดานงานวิจัย 1 ทาน ไดคาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา 0.91
                     2. การทดสอบแผนการอบรม หลังจากการปรับปรุงตามขอเสนอแนะจากผูทรงคุณวุฒิแลว

             ไดคาดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.93 นําไปทดลองจัดอบรมกับพยาบาลหอผูปวยวิกฤตเด็ก
             โรงพยาบาลมุกดาหาร จํานวน 10 คน และนําขอมูลที่ไดมาปรับปรุงวิธีการอบรมกอนนําไปใชจริง
                     3. การหาความเชื่อมั่นของการสังเกต (inter-rater reliability) โดยผูวิจัยนําแบบบันทึก
             การสังเกตการปฏิบัติการจัดการความปวด ภายหลังการปรับปรุงจากขอเสนอแนะจาก

             ผูทรงคุณวุฒิ แลวไปทดลองสังเกต จํานวน 10 เหตุการณ หลังจากนั้นนําผลบันทึกขอมูลมา
             เปรียบเทียบคํานวณหาคาความเชื่อมั่นของการสังเกตไดเทากับ 1 จึงนําแบบสังเกตไปใช
                     4. การหาความเชื่อมั่นของแบบวัดความรูโดยใชสูตรคูเดอร-ริชารดสัน (Kuder-
             Richardson 20: KR-20) ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.77

                     การรวบรวมขอมูล
                     ระยะที่ 1 การรวบรวมขอมูลพื้นฐานใชเวลา 1 เดือน
                     1. ผูวิจัยพบหัวหนาหอผูปวยวิกฤตเด็ก เพื่อชี้แจงวัตถุประสงคและขอความรวมมือในการ
             ทําวิจัยและเขาพบพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผูปวยวิกฤติเด็ก โรงพยาบาลมุกดาหาร โดยนัดประชุม

             เปนกลุม เพื่อชี้แจงวัตถุประสงคของการทําวิจัย ขั้นตอนการรวบรวมขอมูล และขอความรวมมือใน
             การทําวิจัย พรอมทั้งใหผูที่ตกลงเขารวมการวิจัยลงนามในแนบฟอรมการยินยอมเขารวมการวิจัย
                     2. ผูวิจัยแจกแบบสอบถามแกพยาบาลดวยตนเองจนครบ หลังจากนั้นติดตามเก็บใน
             เวลา 1 สัปดาห และนํามาตรวจสอบความครบถวนของการตอบแบบสอบถาม

                     3. ผูวิจัยทําการสังเกตการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ที่ไดรับ
             หัตถการของพยาบาลวิชาชีพ โดยวิธีการสังเกตแบบมีสวนรวม (participatory observation) เปน
             เวลา 4 สัปดาห
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48