Page 50 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 50
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 45
สนับสนุนอุปกรณการจัดการความปวด ไดแก จุกนมหลอก และผาสําหรับหอตัวทารกแรกเกิด
และระยะประเมินผล ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลเชนเดียวกับระยะการเก็บขอมูลพื้นฐาน
วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก จํานวน รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติวิเคราะหไดแก Paired sample t-test ผลการวิจัยมีดังตอไปนี้
ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ ภายหลังไดรับโปรแกรมการ
สงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ พบวา พยาบาลที่ศึกษามีความรูเกี่ยวกับการจัดการความ
ปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดเพิ่มมากขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) และพยาบาลที่
ศึกษามีการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ถูกตองมากขึ้นอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) พยาบาลที่ศึกษา รอยละ 80 ชอบและมีความเห็นวาโปรแกรมการ
สงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษนี้มีประโยชน ควรดําเนินการตอไปอยางเดิม และการอบรม
ใหความรู การสนับสนุนอุปกรณ การใหขอมูลยอนกลับ การติดโปสเตอรเตือน และการให
เอกสารและคูมือ มีผลตอการกระตุนใหพยาบาลมีการจัดการความปวดในทารกแรกเกิดเพิ่มมาก
ขึ้น ผลการวิจัยนี้แสดงใหเห็นวา การสงเสริมใหพยาบาลปฏิบัติโดยใชหลักฐานเชิงประจักษใน
การจัดการความปวดในทารกแรกเกิด ควรใชหลายวิธีประกอบกันและทําอยางตอเนื่อง
อภิปรายผลการวิจัย
คะแนนกอนไดรับความรูเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด ของ
พยาบาลมีคาเฉลี่ย 12.20 คะแนน ภายหลังไดรับความรูเกี่ยวกับโปรแกรมการสงเสริมการใช
หลักฐานเชิงประจักษ คะแนนความรูมีคาเฉลี่ย เพิ่มขึ้นเปน 17.70 คะแนน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก
พยาบาลที่ศึกษา รอยละ 70 ไมเคยเขารับการอบรม หรือประชุมเกี่ยวกับการจัดการความปวดใน
ทารกแรกเกิด และการปฏิบัติโดยอาศัยหลักฐานเชิงประจักษ แมวา รอยละ 80 จะเคยอาน
หนังสือหรือขาวสารเกี่ยวกับการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด ซึ่งสอดคลองกับการศึกษา
ของ รุงทิพย คงแดง (2550) ที่พบวาภายหลังการไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง
ประจักษ พยาบาลมีคาคะแนนความรูหลังอบรมทันที และหลังอบรม 3 เดือน สูงกวากอนไดรับ
การอบรม และคาคะแนนความรูหลังอบรมทันที สูงกวาหลังการอบรม 3 เดือน เชนเดียวกับ
การศึกษาของ กุสุมา พรมมาหลา (2554) ที่พบวาความรูของพยาบาลเรื่องการจัดการความปวด
ในทารกเกิดกอนกําหนด หลังเขารวมโปรแกรมการพัฒนาฯ สูงกวากอนเขารวมโปรแกรมการ
พัฒนาฯ
กอนไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ พบวา พยาบาลที่ศึกษามี
การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิดไดถูกตองตามแนวทางที่
กําหนด ที่ทุกคนปฏิบัติไดถูกตอง คือ การปลุกทารกกอนทําหัตถการ รอยละ 80 มีการบรรเทา
ความปวดกอนทําหัตถการ รอยละ 30 มีการปฏิบัติในเรื่อง การลดเสียงในหอง การประเมิน
ความปวดของทารกแรกเกิด การฟนฟูสภาพทารกแรกเกิดหลังไดรับความปวดจากการทํา