Page 53 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยจึงสนับสนุนวัสดุอุปกรณในการจัดการความปวด ไดแก จุกนม
             หลอกและผาสําหรับหอตัวทารกแรกเกิด ซึ่งเปนปจจัยภายนอก ที่เอื้ออํานวยใหเกิดการ

             เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยจัดวางอุปกรณในการจัดการความปวดไวในที่ปฏิบัติงาน เพื่อให
             พยาบาลสะดวกในการใชงาน โดยจัดจุกนมหลอกไวในรถทําหัตถการ สวนผาสําหรับหอตัวทารก
             แรกเกิด จัดไวใตตูอบ สงผลใหพยาบาลมีการปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรก
             เกิดเพิ่มขึ้น ดังที่พยาบาลที่ศึกษาทุกคน เห็นควรใหมีการสนับสนุนอุปกรณในการจัดการความ
             ปวดอยางเพียงพอ และสะดวกตอการใชงาน เชนเดียวกับที่พบในการศึกษา ผลการนํา

             แอลกอฮอลทําความสะอาดมือชนิดเจลมาใชในหอผูปวยหนัก มีผลทําใหบุคลากรทางการ
             พยาบาลมีการทําความสะอาดมือเพิ่มมากขึ้น (Harbarth et al., 2002)


             ขอเสนอแนะการทํางานวิจัยในครั้งตอไป
                     ควรศึกษา ติดตามประเมินระดับความรูในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรก
             เกิด โดยใชหลักฐานเชิงประจักษของบุคลากร เปนระยะ เชน ทุก 3 เดือน
                     ควรมีการศึกษางานวิจัยเชิงผลลัพธของการจัดการความปวดในผูปวยทารกหรือเด็ก โดย

             วิจัยในสวนของการจัดการความปวดหลังจากการผาตัด การจัดการความปวดในหัตถการที่
             เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และการเลือกกลุมตัวอยางใหมีความใกลเคียง อีกทั้งการเพิ่มขนาดตัวอยาง
             รวมทั้งการติดตามผลการวิจัยที่ตอเนื่อง ในระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น อาจทําใหเห็นถึงผลลัพธที่จะ
             เกิดขึ้นในระยะยาวไดตอไป


             บรรณานุกรม
             กุสุมา พรมมาหลา. (2554). ผลของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถของพยาบาลดานการ
                     จัดการความปวดจากหัตถการในทารกเกิดกอนกําหนด. วิทยานิพนธปริญญาพยาบาล

                     ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเด็ก, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแกน.
             ขนิษฐา แชมไล ลัพณา กิจรุงโรจน และวงจันทร เพชรพิเชฐเชียร. (2556). การพัฒนาแนว
                     ปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการความปวดจากหัตถการในหอผูปวยวิกฤตทางศัลยกรรม
                     โรงพยาบาลสงขลานครินทร. บทความวิจัยเสนอในการประชุมหาดใหญวิชาการ ครั้งที่

                     4 วันที่ 10 พฤษภาคม 2556.
             จรัสศรี เย็นบุตร,รุงทิพย คงแดง,วิลาวัณย พิเชียรเสถียร. (2550). ผลของโปรแกรมการสงเสริม
                     การใชหลักฐานเชิงประจักษตอความรูและการปฏิบัติของพยาบาลในการจัดการความ
                     ปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด. พยาบาลสาร  ปที่ 34  ฉบับที่ 3: 73-85.

             ภากร ชูพินิจรอบคอบ. (2558). การพัฒนาและการใชแนวปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิง
                     ประจักษในการจัดการความปวดแบบเฉียบพลันของผูปวยเด็กเล็ก. โครงการวิจัยเพื่อ
                     พัฒนางานของโรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ หนวยงาน งานการพยาบาล
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58