Page 47 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 47

42  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                                       ความรู                         กอนทดลอง  หลังทดลอง
                                                                         รอยละ       รอยละ

               การบรรเทาความปวดแกทารกแรกเกิดที่อยูในตูอบเมื่อไดรับการ
               แทงเข็มใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา                            50           90

               ความสําคัญของการปฏิบัติโดยอาศัยหลักฐานเชิงประจักษที่มีตอ

               พยาบาลวิชาชีพ                                               60           100
               การเตรียมทารกแรกเกิดเพื่อทําหัตถการ                         60           100

               วิธีการบรรเทาความปวดทารกแรกเกิดขณะเจาะเลือดที่สนเทา       60           80


                     เปรียบเทียบคะแนนความรูเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิด
             ของพยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก กอน และหลัง ไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง
             ประจักษ พบวา หลังการทดลอง พยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก มีความรูเพิ่มมากขึ้นอยางมี
             นัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05 ) ดังแสดงในตารางที่ 3


             ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบความรู กอน และ หลังทดลอง


             ตัวแปร                        n      Χ      S.D.      t       df      P-value

             ความรูเกี่ยวกับการจัดการความปวด                   -7.201        9         0.000
                กอนทดลอง                 10     12.2  2.5
                หลังทดลอง                 10     17.7  1.8


                     3. การปฏิบัติของพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิด
                     กอนการทดลอง พยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการความปวด
             เฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิด ที่ถูกตอง 2 ลําดับแรก ไดแก มีการปลุกทารกกอนทําหัตถการ

             รอยละ100 รองลงมาคือ กระทําหัตถการดวยวิธีที่กอใหเกิดความปวดนอยที่สุด รอยละ 90 แตมี
             การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิดที่ไมถูกตอง (รอยละ 60 -
             100) ในดานการจัดสภาพแวดลอม ไมมีการลดแสงและเสียงในหอง ขาดการประเมินความปวด
             ของทารกแรกเกิด ไมบรรเทาความปวดขณะทําหัตถการ และไมมีการฟนฟูสภาพทารกแรกเกิด

             หลังไดรับความปวดจากการทําหัตถการหลังไดรับโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง
             ประจักษ ในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด พบวา พยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก
             มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแกทารกแรกเกิดถูกตองมากขึ้น ดัง
             รายละเอียดในตารางที่ 4
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52