Page 49 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 49

44  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบการปฏิบัติ กอน และ หลังทดลอง

             ตัวแปร                        n      Χ      S.D.      t       df      P-value
             การปฏิบัติในการจัดการความปวด                -6.986        9        0.000
             กอนทดลอง                     10    4.2      2.5

             หลังทดลอง                     10    8.5      1.8

                     4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับ โปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษของ

             พยาบาล ในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด
                     พยาบาลหอผูปวยวิกฤติเด็ก มีความคิดเห็นเกี่ยวกับโปรแกรมการสงเสริมการใช
             หลักฐานเชิงประจักษของพยาบาลในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด โดยสวน
             ใหญ (≥ รอยละ 80) ไดรับประโยชนจากการจัดโปรแกรมนี้ สนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมใน

             โปรแกรมตอเนื่อง เชน การอบรมใหความรู การสนับสนุนอุปกรณที่ใชบรรเทาความปวดในทารก
             แรกเกิด การติดโปสเตอรเตือน การใหเอกสารและคูมือการปฏิบัติเรื่องการจัดการความปวด
             เฉียบพลันในทารกแรกเกิด


             สรุปผลการวิจัย
                     การวิจัยนี้เปนวิจัยทดลองเบื้องตน (Pre-experiment) ชนิดหนึ่งในกลุมวัดกอน-หลัง
             (one group pretest-posttest design) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐาน
             เชิงประจักษตอความรูและการปฏิบัติของพยาบาลในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรก

             เกิด ในหอผูปวยวิกฤตเด็ก โรงพยาบาลมุกดาหาร ตั้งแตวันที่ 1 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่
             28 เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 โดยเปรียบเทียบคะแนนความรูและคะแนนการปฏิบัติในการ
             จัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด กอนและหลัง ไดรับการสงเสริมการใชหลักฐานเชิง

             ประจักษ กลุมตัวอยางที่ศึกษาในครั้งนี้ เปนพยาบาลวิชาชีพที่ใหการดูแลทารกแรกเกิดโดยตรง 10
             คน ที่ปฏิบัติงานในหอผูปวยวิกฤตเด็ก โรงพยาบาลมุกดาหาร เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้
             ผูวิจัยสรางขึ้นเอง ประกอบดวย แบบบันทึกขอมูลทั่วไป แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ
             โปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ แผนการอบรมการใชหลักฐานเชิงประจักษใน
             การจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด คูมือการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรก

             เกิด แบบบันทึกการสังเกตการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด
                     ผูวิจัยดําเนินการทดลองและรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยแบงออกเปน 3 ระยะ คือ
             ระยะการเก็บขอมูลพื้นฐาน โดยการเก็บขอมูลทั่วไปของพยาบาล วัดความรู และสังเกตการ

             ปฏิบัติการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดของพยาบาล ระยะดําเนินโปรแกรมการ
             สงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ ประกอบดวย การอบรมใหความรู การใหเอกสารคูมือการ
             ปฏิบัติ การใหขอมูลยอนกลับเปนรายบุคคลและภาพรวม การกระตุนเตือนดวยโปสเตอร การ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54