Page 42 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 42

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   37

                วิธีการวิจัย
                        เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

                        เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวยเครื่องมือ 2 สวน ไดแก เครื่องมือที่ใชในการ
                รวบรวมขอมูล และเครื่องมือที่ใชดําเนินการวิจัย
                        สวนที่ 1 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล
                        1. เครื่องมือในการรวบรวมขอมูล ไดแก แบบบันทึกขอมูลทั่วไป ประกอบดวยขอคําถาม
                เกี่ยวกับ ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณปฏิบัติงาน และการเขารวมประชุมหรืออบรม

                เกี่ยวกับการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด มีลักษณะเปนแบบคําถามปลายปดและปลายเปด
                        2. แบบวัดความรูของพยาบาลเกี่ยวกับการจัดการความปวดใหกับทารกแรกเกิด
                ประกอบดวยขอคําถามเกี่ยวกับ การจัดสภาพแวดลอมในการจัดการความปวด การเตรียมทารก

                แรกเกิดเพื่อทําหัตถการ การบรรเทาความปวดระหวางทําหัตถการ และการฟนฟูทารกแรกเกิด
                หลังไดรับความปวดจากหัตถการ จํานวน 20 ขอคําถาม ลักษณะคําถามเปนแบบเลือกตอบ 4
                ตัวเลือก ซึ่งมีคําตอบถูกเพียงขอเดียว มีเกณฑการใหคะแนน คือ ตอบถูกได 1 คะแนน และตอบ
                ไมถูกได 0 คะแนน คิดเปนคะแนนเต็ม 20 คะแนน

                        3. แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติของพยาบาล ในการจัดการความปวดเฉียบพลันใหแก
                ทารกแรกเกิด มีลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ (check list) ประกอบดวยการบันทึกเกี่ยวกับ
                วัน เวลาที่สังเกต และกิจกรรมการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ ในการจัดการความปวด 4
                กระบวนการ ดังนี้ การจัดสภาพแวดลอมในการจัดการความปวด การเตรียมทารกแรกเกิดเพื่อทํา

                หัตถการ การบรรเทาความปวดระหวางทําหัตถการ และการฟนฟูทารกแรกเกิดหลังไดรับความปวด
                จากหัตถการ รวมมี 9 ขอที่ปฏิบัติ โดยใชวิธีทําเครื่องหมาย √ หรือ X ลงในชองวางวา ปฏิบัติ
                หรือไมปฏิบัติ ตรงกับพฤติกรรมที่สังเกต มีเกณฑการใหคะแนน คือ ปฏิบัติถูกตอง ได 1 คะแนน
                ปฏิบัติไมถูกตองหรือไมปฏิบัติ ได 0 คะแนน คิดเปนคะแนนรวมได 9 คะแนน

                        4. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ โปรแกรมการสงเสริมการใชหลักฐานเชิงประจักษ
                ของพยาบาลในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิด
                        สวนที่ 2 เครื่องมือที่ใชในการดําเนินการวิจัย
                        1.  แผนการอบรมเรื่องการใชหลักฐานเชิงประจักษในการจัดการความปวดเฉียบพลันใน

                ทารกแรกเกิด จัดอบรมใชวิธีการบรรยายประกอบการสาธิตวิธีการจัดการความปวดเฉียบพลันใน
                ทารกแรกเกิด
                        2. คูมือการปฏิบัติในการจัดการความปวดเฉียบพลันในทารกแรกเกิดสําหรับพยาบาล
                โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การปฏิบัติโดยอาศัยหลักฐานเชิงประจักษ การจัดสภาพแวดลอมในการ

                จัดการความปวด การเตรียมทารกแรกเกิดเพื่อทําหัตถการ การบรรเทาความปวดระหวางทํา
                หัตถการ และการฟนฟูสภาพทารกแรกเกิดหลังไดรับความปวดจากหัตถการ เพื่อใหพยาบาลได
                ศึกษาดวยตนเอง และทบทวนความรูภายหลังไดรับการอบรม
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47