Page 40 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 40

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   35

                เปนไปไดในการนําแนวปฏิบัติไปใช และประเมินโดยพยาบาล ระดับความปวดของผูปวย และ
                ความพึงพอใจของผูปวย

                        บทบาทของการจัดการความปวดแบบไมใชยา เปนบทบาทอิสระที่พยาบาลสามารถทํา
                ได แตปจจุบันยังพบวาการจัดการความปวดในผูปวยเด็ก ยังไมมีประสิทธิภาพและเกิดชองวาง
                ของความรูและการปฏิบัติ ทารกหรือเด็กเล็กที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาล มีความเจ็บปวด
                ทั้งจากพยาธิสภาพของโรค และจากการรักษาที่ไมไดรับการจัดการความปวดที่เพียงพอและ
                เหมาะสม (Petovello, 2012; Vincent & Denyes, 2004; Twycross, 2007; Czarnecki et

                al., 2011) แมวาจะมีวิธีการจัดการความปวดแบบไมใชยามากมายที่พยาบาลสามารถนํามาใชได
                เชน การใชเทคนิคการเบี่ยงเบนความสนใจ การใชการโอบกอดของบิดามารดา การใชน้ําตาล
                ซูโครส การจัดทา การนวดและการใชความเย็นเฉพาะที่ เปนตน แตวิธีการจัดการความปวดแบบ

                ไมใชยาดังกลาว ยังไมถูกนํามาปฏิบัติมากนัก โดยพบวา ปจจัยที่มีผลตอการจัดการความปวดแบบ
                ไมใชยาในทารกหรือเด็ก ไดแก การพรองความรูในการจัดการความปวดแบบไมใชยา ไมมีเวลาใน
                การจัดการความปวดแบบไมใชยา ภาระงานที่มากเกินไป และรูปแบบวิธีการจัดการความปวด
                แบบไมใชยา และแนวทางการจัดการความปวดยังไมมีความชัดเจน (Polkki, Pietila, &

                Julkunen, 2003) นอกจากปจจัยดานความรู ความเชื่อและทัศนคติที่มีผลตอการปฏิบัติแลว ยังมี
                ปจจัยอื่น ๆ ที่สงผลตอการจัดการความปวดอีกหลายปจจัย เชน ประสบการณของพยาบาล เวลา
                ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ภาระงาน แหลงสนับสนุนตาง ๆ ความรวมมือจากผูปกครอง
                พยาบาลและเด็ก นโยบายและวัฒนธรรมขององคกร แหลงสนับสนุนดานการจัดการความปวดใน

                ทารกหรือเด็ก เปนตน (Gimbler-Berglund et al., 2008 ; Czarnecki et al., 2011)
                        จะเห็นไดวาพยาบาลมีบทบาทสําคัญในการจัดการความปวดใหแกทารกแรกเกิด วิธีการ
                จัดการความปวดมีดวยกันหลายวิธี ดังไดกลาวมาแลวขางตน แตผลการวิจัย พบวา พยาบาลยังมี
                การนําผลการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการกับความปวดใหแกทารกแรกเกิดมาปฏิบัตินอยกวาที่ควร

                จากการสัมภาษณพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผูปวยทารกแรกเกิดปวย จํานวน 12 คน และหอ
                ผูปวยวิกฤตเด็ก โรงพยาบาลมุกดาหาร จํานวน 10 คน ผูวิจัยพบวา พยาบาลสวนใหญไมมีความรู
                เรื่องการจัดการความปวดใหแกทารกแรกเกิดที่ไดรับการทําหัตถการ และจากประสบการณการ
                ทํางานในหอผูปวยทารกแรกเกิดปวย พบวา เมื่อพยาบาลมีการทําหัตถการใหแกทารกแรกเกิด ก็

                มิไดมีการจัดการความปวด พยาบาลบางคนทําการหอตัวใหแกทารกแรกเกิด เพียงเพื่อความสะดวก
                ในการทําหัตถการ แตไมทราบวาการหอตัวเปนวิธีหนึ่งที่ชวยบรรเทาความปวดใหแกทารกแรกเกิด
                จากผลการสํารวจโรงพยาบาล 9 แหงในกรุงเทพมหานคร พบวา พยาบาลบางสวนมีความเขาใจไม
                ถูกตองและไมทราบวาการบรรเทาความปวดใหแกทารกแรกเกิดกอนกําหนดควรปฏิบัติอยางไร การ

                สงเสริมใหพยาบาลมีการปฏิบัติการจัดการความปวดสําหรับทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลที่ถูกตอง
                ตามหลักฐานเชิงประจักษ จึงเปนสิ่งจําเปนเพื่อใหทารกแรกเกิดมีความปวดลดลงจากการ
                รักษาพยาบาล และลดผลกระทบตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับทารกแรกเกิด
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45