Page 39 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 39

34  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             รุนแรงของความปวดที่เกิดขึ้นได จึงจําเปนที่จะตองอาศัยเครื่องมือในการประเมินความปวดที่
             เหมาะสมกับวัย ที่มีความเที่ยงตรงสูงมาเพื่อใชประเมิน ซึ่งหากประเมินความปวดไดไมถูกตองและ

             ไมตรงกับความรูสึกจริง จะทําใหวางแผนการจัดการความปวดไดไมถูกตอง
                     การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ จะชวยใหคาใชจายในการรักษาพยาบาลมีความ
             คุมคาคุมทุน จํานวนวันนอนโรงพยาบาลลดลง มีความสะดวกในการปฏิบัติงาน ลดชองวางของ
             การปฏิบัติ ที่ทําใหเกิดความขัดแยง ลดความหลากหลายของการปฏิบัติ ลดความเสี่ยงของการ
             เกิดการปฏิบัติงาน การใชแนวปฏิบัติทางการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ เพื่อใชจัดการ

             ความปวดในทารกและเด็ก จะทําใหเกิดผลลัพธที่ดีในการดูแลผูปวย เกิดการพัฒนาคุณภาพใน
             การดูแล และเปนการรับประกันคุณภาพของการดูแลใหมีความคุมคาคุมทุน รวมทั้งจะนําไปสู
             มาตรฐานและความปลอดภัยสูงสุดสําหรับผูปวย (เรณู พุกบุญมี, 2555; รุงนภา เขียวชะอุม,

             2556) โดยการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพนั้น ตองมาจากการพิสูจนทางการวิจัยแลววา
             ไดผลลัพธที่ดี นั้นคือการปฏิบัติโดยอาศัยหลักฐานเชิงประจักษที่จัดทําขึ้นอยางเปนระบบ เพื่อ
             ชวยใหการดูแลอยางเหมาะสม แนวทางปฏิบัติการจัดการความปวดในทารกและเด็ก จะชวยให
             พยาบาลสามารถปฏิบัติการจัดการความปวดเปนไปในแนวทางเดียวกัน และสอดคลองกับ

             แผนการรักษาของแพทย ลดความขัดแยงในการปฏิบัติงาน และเกิดความเทาเทียมกันใน
             มาตรฐานการดูแลผูปวยเด็ก นําไปสูการปฏิบัติการพยาบาลที่เปนเลิศ กอใหเกิดความพึงพอใจ
             ของครอบครัว รวมทั้งความพึงพอใจของพยาบาลที่ใหการดูแลผูปวยทารกและเด็กอีกดวย (เรณู
             พุกบุญมี, 2555) ดังนั้นทารกและเด็กที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาล หากไดรับการจัดการ

             ความปวดที่เหมาะสม เพียงพอ จะชวยใหมีความทุกขทรมานจากความปวดลดลงรับรูความปวด
             ที่เกิดขึ้นตามความเปนจริง เกิดความกลัวลดลง ชวยลดผลกระทบตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ชวย
             สงเสริมการฟนตัว และสามารถลดจํานวนวันนอนโรงพยาบาลได สงผลใหเกิดความพึงพอใจตอ
             ครอบครัว ซึ่งสอดคลองกับการใชหลักฐานเชิงประจักษในการพยาบาลผูปวยในหลายงานวิจัย

             เชน การศึกษาของ ศนิชา เศรษฐชัยยันต (2556) เกี่ยวกับการศึกษาประสิทธิผลของการพัฒนา
             แนวปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลผูปวยที่มีอาการปวดเฉียบพลัน พบวาพยาบาลปฏิบัติตามแนว
             ปฏิบัติเพิ่มขึ้น พยาบาลมีความพึงพอใจ และระดับความปวดของผูปวยไดรับการบรรเทาลงมาก
             และมีความพึงพอใจตอการจัดการความปวดระดับมาก และสอดคลองกับการศึกษาของ สองศรี

             หลาปาซาง (2552) ที่ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาและการใชแนวปฏิบัติทางคลินิกสําหรับการ
             จัดการความปวดหลังผาตัดในผูปวยเด็ก พบวาแนวปฏิบัติทางคลินิกมีประสิทธิผลในการจัดการ
             ความปวดหลังการผาตัดในผูปวยเด็ก สามารถนําไปใชในการปฏิบัติกับผูปวยเด็กที่ไดรับการ
             ผาตัดได สอดคลองกับการศึกษาของ ขนิษฐา แชมไล ลัพณา กิจรุงโรจน และวงจันทร เพชร

             พิเชฐเชียร (2556) เรื่อง การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการความปวดจากหัตถการ
             ในผูปวยวิกฤตทางศัลยกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร และมีขอเสนอแนะใหมีการนําแนว
             ปฏิบัติที่ไดไปใช และพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยบูรณาการเขากับหนวยงาน และควรศึกษาความ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44