Page 38 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 38
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 33
บทนํา
ความปวดเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดกับทุกคนและทุกชวงวัย อนันและเครก (Anand and Craig,
1997 ) ใหคําจํากัดความของความปวดในเด็กวา ความปวดเปนสัญญาณบงบอกถึงการทําลายของ
เนื้อเยื่อ สัญญาณดังกลาว ไดแก การตอบสนองทางพฤติกรรม (behavioral response) และทาง
สรีรวิทยา (physiological response) ซึ่งเปนตัวบงชี้ถึงความปวดที่ผูอื่นสามารถรับรูได เด็กเล็กที่
ตองเผชิญความปวดดังกลาว แมจะเปนความปวดเฉียบพลันในระยะสั้น ๆ แตอาจมีผลตอเด็กได ทั้ง
ในดานจิตใจ สังคม และอารมณ โดยเด็กที่ไดรับความปวดเฉียบพลันหลายครั้ง จะทําใหเกิดการ
สะสมของความปวดในลักษณะที่เรื้อรังได นอกจากนี้ประสบการณความปวดในวัยเด็กที่เคยไดรับ
อาจมีผลตอการตอบสนองความปวดในวัยผูใหญ เด็กที่เคยมีประสบการณความปวดและไมไดรับ
การดูแลชวยเหลือที่เหมาะสม จะมีการรับรูตอความปวดในลักษณะที่ถูกคุกคามและมีความไวตอ
ความปวดสูง (Cassidy, Reid, McGrath, Finley, Smitth, Morley, 2002; Cohen, Blount,
Cohen, Ball, McClellan, & Bernard, 2001) เด็กเจ็บปวยที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาล ตอง
ไดรับหัตถการรักษาและการตรวจวินิจฉัยทางการแพทยเพื่อใชวินิจฉัยโรคและวางแผนการรักษา
สวนใหญหัตถการที่เด็กไดรับขณะอยูโรงพยาบาล มักไดรับความเจ็บปวดแบบเฉียบพลันซึ่งเปนสิ่งที่
หลีกเลี่ยงไดยาก และกอใหเกิดผลกระทบตอเด็กทั้งดานรางกายและจิตใจ กอใหเกิดความกลัว วิตก
กังวล รูสึกไมแนนอนและไมปลอดภัย (Silva, Pinto, Gomes, & Barbosa, 2011) ดังนั้นการจัดการ
กับความปวดและสรางประสบการณของการจัดการความปวดที่เหมาะสมถูกตอง จะชวยใหลด
ความรูสึกกลัวและลดปฏิกิริยาตอบสนองตอความปวดในอนาคต และหากเด็กไดรับการจัดการ
ความปวดที่เหมาะสมจะชวยใหสามารถพัฒนาความมั่นคงในอารมณ และสงเสริมใหเกิดการ
ตอบสนองตอความปวดที่ดีตอไปในอนาคตได
หัวใจสําคัญของการจัดการความปวด คือ การตระหนักถึงความสําคัญวาความปวดเปนสิ่ง
ที่ตองไดรับการรักษา ความปวดเปนสัญญาณชีพที่ 5 (Kyle & Carman, 2013; วิทยา เลิศวิริยะ
กุล, 2550) ของการดูแลผูปวยและการบรรเทาความปวดที่ปลอดภัยและเหมาะสม เปนสิทธิขั้น
พื้นฐานของมนุษยทุกคนที่ควรไดรับ (Petovello, 2012) พยาบาลเปนบุคลากรหลักที่ใหการดูแล
และประเมินความเจ็บปวด รวมทั้งชวยสงเสริมใหทารกแรกเกิดหรือเด็ก และครอบครัวสามารถ
เผชิญกับความปวดไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดผลลัพธที่ดีตอทั้งผูปวยเด็ก ครอบครัวและทีม
สุขภาพ โดยเปาหมายของการจัดการความปวด คือการลดความทุกขทรมานจากความปวด และ
ผลกระทบที่เกิดขึ้น (Ljusegren, 2011; Obrecht & Andreoni, 2012) แตการที่จะจัดการความ
ปวดไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองมาจากการประเมินความปวดที่ครอบคลุมทั้งในสวนของการ
ประเมินทั้งทางดานรางกายและจิตใจ การประเมินความปวดในทารกและเด็กเล็ก จะใชการ
ประเมินความปวดหลายวิธีรวมกัน ไดแก การประเมินความปวดทางสรีรวิทยารวมกับการประเมิน
ความปวดทางพฤติกรรม ซึ่งเปนวิธีที่มีความเหมาะสมและแมนยํา การประเมินความปวดในทารก
หรือเด็กเล็กมักทําไดยาก เนื่องจากทารกหรือเด็กเล็กไมสามารถอธิบายและบอกรายละเอียดความ