Page 23 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 23

18  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                  ผลของโปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกันโรคตอการรับรูเกี่ยวกับ

                        โรคมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง
                                     อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

               The Effects of a Motivation Enhancing Program on the Perception
               of Cervical Cancer at Dongbang Health Promoting Hospital, Muang

                                 District, Ubon Ratchathani Province

                                                                     3
                                             2
               ฐิติมา โกศัลวิตร0 , นิตยา เจริญยุทธ , กัญญารัตน กันยะกาญจน , นฤมล บุญญนิวารวัฒน
                             1
                                                                                            4
                                                1
                                                                                           3
                                                                     2
                               Thitima Kosalvitr , Nittaya Chareonyut , Kanyarat Kanyakan ,
                                                                Naruemon Bunyaniwarawat     4

             บทคัดยอ
                     การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกัน
             โรค ตอการรับรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุมเปาหมาย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
             ดงบัง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ดวยโปรแกรมการเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกันโรค
             ที่ประยุกตแนวคิดทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรคของ Rogers มี 4 ขั้นตอน ใชระยะเวลา 8
             สัปดาห โดยใชรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง กลุมตัวอยางเปนสตรี อายุระหวาง 30 - 60 ป จํานวน

             60 คน ตามเกณฑการคัดเขา แบงกลุมโดยวิธีการสุมอยางงายเปนกลุมทดลอง จํานวน 30 คน
             และกลุมควบคุม จํานวน 30 คน เก็บขอมูลชวงเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2561 เครื่องมือใน
             การวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย 1) โปรแกรมการเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกันโรค และ 2)

             แบบสอบถามการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผูทรงคุณวุฒิ
             จํานวน 3 ทาน ไดคา IOC เทากับ 0.67 – 1.00 คาความเชื่อมั่นของเครื่องมือเทากับ 0.92
             วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา โดยการแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวน
             เบี่ยงเบนมาตรฐาน และใชสถิติอนุมานเปรียบเทียบภายในกลุมดวย Paired t-test เปรียบเทียบ

             ระหวางกลุมดวย Independent t-test
                     ผลการวิจัยพบวา ภายหลังการทดลอง สตรีกลุมทดลองที่ไดรับโปรแกรมเสริมสราง
             แรงจูงใจในการปองกันโรคมีการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก สูงกวากอนทดลอง และสูง


             1  ดร., คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี (Dr., Faculty of Nursing, Ratchathani University)

             e-mail: nokthitimako@gmail.com, โทร 081-760-9845
             2 อาจารย, คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี (Faculty of Nursing, Ratchathani University)
             3 พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง (Dong Bang Health Promoting Hospital)
             4 พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง (Dong Bang Health Promoting Hospital)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28