Page 21 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 21

16  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                     “ดิฉันคิดวา บางที่ถาคุณจะไมลองตามเขา ปลอยใหเขาไป คิด เรียนรูและกลับมาเอง
             นาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจนะคะ”

                     7. Presenting Reality การบอกสภาพความเปนจริงเพื่อใหผูรับบริการพิจารณาใหชัดเจน
                     “ฉันไมเห็นใครในหองนี้”
                     “เสียงนั้นเปนเสียงเครื่องยนต”
                     “มารดาคุณไมไดอยูในหองนี้ ฉันเปนนักศึกษาพยาบาล”
                     8. Summarizing การสรุปขอความเมื่อผูรับบริการพูดจบแลว เปนการกลาวสรุปเพื่อให

             ผูรับบริการไดยินสิ่งที่เขาเลามาทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง เปนการตรวจสอบกับผูรับบริการวา เรื่องที่
             เขาเลานั้น นักศึกษาพยาบาลเขาใจถูกตองหรือไม การสรุปความมักจะทําในสวนทาย ๆ ของ
             Session หรือเมื่อผูรับบริการเลาหลาย ๆ เรื่อง นักศึกษาพยาบาลชวยเขาสรุปวาเขาไดพูดเรื่อง

             อะไรบาง นักศึกษาพยาบาลอาจกลาววา “ในชั่วโมงที่ผานมา คุณไดเลาเรื่อง........”
                     “คุณไดเลาใหดิฉันฟงวา.........”
                     “ระหวางครึ่งชั่วโมง เราพูดคุยกันถึงเรื่อง.......”
                     “การสนทนาครั้วนี้ พอจะสรุปไดวา.....” (สายฝน เอกวรางกูร, 2559)

                     แนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
                     สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด นับเปนหัวใจสําคัญของการพยาบาลจิตเวช การเตรียมความ
             พรอมของนักศึกษาพยาบาลกอนฝกปฏิบัติสรางสัมพันธภาพจึงเปนสิ่งจําเปน ควรมีการเตรียม
             ความพรอมของนักศึกษาพยาบาลกอนฝกปฏิบัติงานอยางนอย 1 สัปดาห เพราะการเรียนใน

             หองเรียนเปนการบรรยาย นักศึกษานึกภาพไมออกวาในสถานการณจริง ในการสนทนาบําบัดกับ
             ผูรับบริการตองทําอยางไรจึงจะถูกตองเหมาะสม การเตรียมความรูของนักศึกษา การฝกเขียน
             วัตถุประสงคใหสอดคลองในแตละขั้นตอนการสนทนา การใชเทคนิคสนทนา การฝกวิเคราะหคํา
             สนทนาและพฤติกรรม การเตรียมยุติการสนทนา โดยการสรางสถานการณจําลอง การแสดง

             บทบาทสมมติ (Role Play) เพื่อใหนักศึกษาไดฝกประสบการณ โดยเนนการพัฒนาสัมพันธภาพ
             ในแตละองคประกอบทั้ง 5 องคประกอบ ประกอบดวย ดานความไววางใจจากผูรับบริการ
             (Trust) ดานสัมพันธภาพใกลชิดเชิงวิชาชีพ (Professional Intimacy) ดานพลังในการชวยเหลือ
             ผูรับบริการ (Power) ดานการเคารพผูรับบริการ (Respect) และดานการเอาใจใสผูรับบริการ

             (Empathy) การพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนในแหลงฝกปฏิบัติสรางสัมพันธภาพเพื่อบําบัด
             ได โดยอาจารยผูสอนใชเทคนิคทางดานจิตวิทยามาสงเสริมใหนักศึกษาเกิดการเรียนรู เชน การ
             ใชเทคนิคการสอน (Coaching) โดยการใชตัวแบบ (Modeling) การใหขอมูลปอนกลับ
             (Informative Feedback) การใหแรงเสริมทางสังคม (Social Reinforcement) เทคนิคการ

             ฝกซอม (Rehearsal) ในการฝกประสบการณในสถานการณจําลองจะสงผลใหนักศึกษาพยาบาล
             มีความมั่นใจยิ่งขึ้น เมื่อตองสรางสัมพันธภาพในสถานการณจริง (สมจิตรา นาวา, 2559)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26